ดูโค้ดสำหรับ นกเขาเขียว
←
นกเขาเขียว
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[[ไฟล์:Emerald1.jpg|right]] '''วงศ์''':Columbidae<br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''':''Chalcophaps indica '' (Linnaeus) 1758.<br> '''ชื่อสามัญ''':Emerald Dove <br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''':Green-winged Pigeon<br><br> มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Chalcophaps indica'' ชื่อชนิดดัดแปลงจากชื่อสถานที่ที่พบครั้งแรก คือประเทศอินเดีย (ที่เมืองกัลกัตตา) ทั่วโลกมีนกเขา เขียว 13 ชนิดย่อย ประเทศไทยพบ 1 ชนิดย่อยคือ Chalcophaps indica indica (Linnaeus) ชื่อชนิดย่อยมีที่มาและความหมายเช่นเดียวกับชื่อชนิด '''กระจายพันธุ์''' : เขาเขียวมีกระจายพันธุ์ในอินเดีย จีนตอนใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกาะไหหลำ ไต้หวัน หมู่เกาะอันดามัน หมู่เกาะนิโคบาร์ ฟิลิปปินส์ หมู่เกาะซุนดา และออสเตรเลีย '''ลักษณะทั่วไป''' : เป็นนกขนาดเล็ก (24-25 ซม.) ปากสีแดง คอหอยและลำตัวด้านล่างสีแดงแกมน้ำตาลเข้ม ขาและนิ้วสีแดงแกมม่วง ช่วงไหล่สีเขียวเป็นมัน ขณะบินจะเห็นหลังสีเขียว ตะโพกสีขาว มีแถบสีดำ คาดกลาง ตัวผู้บริเวณหน้าผากและคิ้วสีขาว กระหม่อม และท้ายทอยสีเทาแกมน้ำเงิน ตัวเมียสีทึมกว่าตัวผู้ หน้าผากและคิ้วสีเทา กระหม่อมและท้ายทอยสีน้ำตาล '''อุปนิสัยและอาหาร''' : อาศัยอยู่ตามป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบแล้ง ป่าดงดิบชื้น และป่าดงดิบเขา ตั้งแต่ ระดับพื้นราบจนกระทั่งความสูง 1,500 เมตรจากระดับน้ำทะเล พบอยู่โดดเดี่ยวหรือเป็นคู่ แต่บางแห่งพบเป็นฝูง ปกติจะพบตามถนนหรือเส้นทางในป่าเสมอบางครั้งพบบินข้ามลำธารในป่า นกเขาเขียวบินได้เร็ว และตรงในระดับที่ไม่สูงมากนัก บางครั้งพบเกาะตามกิ่งไม้ที่มีใบค่อนข้างแน่นทึบ โดยเฉพาะช่วงทำรังวางไข่นกเขาเขียวหากินเมล็ดธัญพืช เมล็ดพืช หรือ ผลไม้ที่ตกหล่นตามพื้นดิน บางครั้งก็จิกกินปลวกและ แมลงตามพื้น '''การผสมพันธุ์''' : นกเขาเขียวผสมพันธุ์ในช่วงฤดู ร้อนต่อฤดูฝนระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน รังเป็นแบบง่าย ๆ โดยใช้กิ่งไม้เล็ก ๆ วางซ้อนกันตาม ง่ามหรือกิ่งไม้ ปกติรังอยู่สูงจากพื้นดิน 2-5 เมตร ทั้งสองเพศช่วยกัน หาวัสดุสร้างรัง ฟักไข่ และเลี้ยงดูลูกอ่อน ลูกนกแรก เกิดยังไม่ลืมตาและมีขนอุยปกคลุมทางลำตัวด้านบน เล็กน้อย พ่อแม่จะช่วยกันกกลูกอ่อนโดยให้ซุกใต้ปีก หรือใต้ท้อง และคอยป้อนน้ำนมนก เมื่อลูกนกอายุได้ 7 วันมันจะเริ่มลืมตา พออายุ 12-14 วันจะมีขน ปกคลุมเต็มตัวและบินได้ จากนั้นอีก 1-2 วันจะทิ้งรัง '''ไข่''' : ไข่ สีเนื้อแกมสีครีมอ่อน มีขนาดเฉลี่ย 21.0x27.0 มม. รังมีไข่ 2 ฟอง จะเริ่มฟักไข่เมื่อออกไข่ฟองสุดท้ายแล้ว ใช้ระยะเวลาฟักไข่ทั้งสิ้น 13 วัน '''สถานภาพ''' : นกเขาเขียวเป็นนกประจำถิ่น พบบ่อยและปริมาณปานกลางทั่วทุกภาค ยกเว้นภาคกลาง '''กฎหมาย''' : จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ---- <center>[[ไฟล์:Emerald2.jpg]] [[ไฟล์:Emerald3.jpg]] [[ไฟล์:Emerald4.jpg]]</center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ''' <br> http://oknation.nationtv.tv/blog/home/user_data/album_data/201810/01/54391/images/488091.jpg<br> http://oknation.nationtv.tv/blog/home/user_data/album_data/201810/01/54391/images/488094.jpg<br> http://www.thungyaiwest.com/images/Gallery/Bird20171119/IMG_0888-1.jpg<br> https://img.kapook.com/u/2018/Jarosphan/Pet/Bird/1119/03.jpg<br> '''แหล่งที่มาของเนื้อหา''' <br> จากหนังสือนกในเมืองไทย ผู้เขียน รศ.โอภาส ขอบเขต <br>
กลับไป
นกเขาเขียว
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
สถานที่ศึกษา
นกกก,นกกาฮัง
นกกระจิบคอดำ
นกกระจิบธรรมดา
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกะเต็นลาย
นกกะเต็นหัวดำ
นกกะเต็นอกขาว
นกกางเขนดง
นกกางเขนน้ำหลังแดง
นกกางเขนบ้าน
นกกาฝากก้นเหลือง
นกกาฝากท้องส้ม
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอแดง
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีม่วง
นกกินปลีท้ายทอยน้ำเงิน
นกกินแมลงคอดำ
นกกินแมลงคอลาย
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกกินแมลงปีกแดง
นกกินแมลงหัวสีน้ำตาล
นกกินแมลงอกเหลือง
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยปีกสีเรียบ
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกเขนน้อยปีกแถบขาว
นกเขาเขียว
นกเขาเปล้าธรรมดา
นกเขาใหญ่, นกเขาหลวง
นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า
นกเขียวก้านตองเล็ก
นกเขียวก้านตองใหญ่
นกเขียวคราม
นกคัคคูสีม่วง
นกเงือกกรามช้าง,นกกู๋กี๋
นกเงือกปากดำ,กาเขา
นกจอกป่าหัวโต
นกจับแมลงคอแดง
นกจับแมลงจุกดำ
นกจับแมลงตะโพกเหลือง
นกจับแมลงสีคล้ำ
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจับแมลงอกส้มท้องขาว
นกจาบคาคอสีฟ้า
นกจาบดินอกลาย
นกแซงแซวเล็กเหลือบ
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกตะขาบดง
นกตะขาบทุ่ง
นกไต่ไม้หน้าผากกำมะหยี่
นกบั้งรอกเขียวอกแดง
นกบั้งรอกแดง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดทอง
นกปรอดท้องสีเทา
นกปรอดเล็กท้องเทา
นกปรอดสวน
นกปรอดสีน้ำตาลตาขาว
นกปรอดสีน้ำตาลตาแดง
นกปรอดหงอนตาขาว
นกปรอดหลังเขียวอกลาย
นกปรอดหลังฟู
นกปรอดเหลืองหัวจุก
นกปรอดโอ่งท้องสีน้ำตาล
นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ
นกปรอดโอ่งไร้หงอน
นกปลีกล้วยเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองใหญ่
นกพญาปากกว้างเล็ก
นกโพระดกคางแดง
นกโพระดกเคราเหลือง
นกโพระดกหน้าผากดำ
นกมุ่นรกสีน้ำตาล
นกสีชมพูสวน
นกหกเล็กปากแดง,นกสี่สิบ
นกหว้า
นกหัวขวานแคระอกเทา
นกหัวขวานแดง
นกหัวขวานแดงลาย
นกหัวขวานป่าไผ่
นกหัวขวานสี่นิ้วหลังทอง
นกกะรางหัวหงอก
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
เหยี่ยวรุ้ง
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า