ดูโค้ดสำหรับ นกจอกป่าหัวโต
←
นกจอกป่าหัวโต
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[[ไฟล์:Brown1.jpg|right]] ''วงศ์''':Bucerotidae<br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''':''Calorhamphus fuliginosus '' (Temminck) 1830.<br> '''ชื่อสามัญ''':Brown Barbet <br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''':-<br><br> มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Calorhamphus fuliginosus ''ชื่อชนิดมาจากรากศัพท์ภาษาละติน คือ fulis, -in หรือ fuligiris หรือ fuligo แปลว่าสี เขม่า และ OS, =um, =us แปลว่าเต็มไปด้วย ความ หมายคือ “นกที่มีสีออกเป็นสีเขม่า” พบครั้งแรกทาง ตอนใต้ของเกาะบอร์เนียว ประเทศอินโดนีเซีย ทั่วโลก มีนกจอกป่าหัวโต 3 ชนิดย่อย ประเทศไทยพบ 1 ชนิด ย่อยคือ Calorhamphus fuliginosus havi (Gray) ชื่อชนิดย่อยดัดแปลงจากชื่อของบุคคล พบครั้งแรกที่ รัฐมะละกา ประเทศมาเลเซีย Deignan (1963) ใช้ ชื่อชนิดย่อยที่พบในประเทศไทยว่า Calorhamphus fuliginosus detersus Deignan ชื่อชนิดย่อยมาจาก รากศัพท์ในภาษาละตินคือ de แปลว่า จาก ลง หรือ ออก และ ters แปลว่าสะอาดหรือหมดจด ความหมาย คือ “นกที่ไม่มีลวดลาย” พบครั้งแรกที่จังหวัดนครศรีธรรมราช อย่างไรก็ตามในบรรดาชนิดย่อยที่พบทั่วโลก ทั้ง 3 ชนิดย่อย Howard and Moore (1980) ไม่ ได้ระบุชื่อ Calorhamphus fuliginosus detersus ไว้ จึงอาจเป็นไปได้ว่าทั้งสองชื่อเป็นชื่อพ้องซึ่งกันและกัน '''กระจายพันธุ์''' : ในพม่า ไทย มาเลเซีย เกาะสุมาตรา และเกาะบอร์เนียว '''ลักษณะทั่วไป''' : เป็นนกขนาดเล็ก (17-18 ซม.) ปากค่อนข้างใหญ่สีดำหรือน้ำตาลเข้ม ลำตัวบนสีน้ำตาลเข้ม อาจมีลายแต้มสีเหลือง คอหอยและคอด้านล่างสีส้ม ลำตัวด้านล่างสีขาวแกมเทา ขาและนิ้วสีแดงสดหรือสีส้มเห็นได้ชัดเจน '''อุปนิสัยและอาหาร''' :อาศัยอยู่ตามป่าดงดิบชื้นและ ป่ารุ่น ตั้งแต่ระดับพื้นราบจนกระทั่งความสูง 1,000 เมตรจากระดับน้ำทะเล พบอยู่โดดเดี่ยว เป็นคู่ หรือ เป็นฝูงเล็ก ๆ ประมาณ 3-4 ตัว ปกติมันมักเกาะตาม ใบไม้ กิ่งไม้ และลำต้นของต้นไม้สูง โดยสามารถเกาะ ได้ทุกแนว แต่บางครั้งมันก็ลงมาเกาะในระดับต่ำ หรือ ลงมายืนตามพื้นป่า นกจอกป่าหัวโตร้องเสียงแหลม และสูง แต่ไม่ดังนัก อาหารส่วนใหญ่ ได้แก่ ผลไม้ แต่บางครั้งก็กิน แมลงและตัวหนอน '''การผสมพันธุ์''' : นกจอกป่าหัวโตมีชีววิทยาการ สืบพันธุ์ไม่แตกต่างไปจากนกโพระดกซึ่งอยู่ในวงศ์เดียว กัน มันขุดเจาะโพรงทำรังบนต้นไม้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็น ไม้ที่ยืนต้นตายและค่อนข้างยุ ทั้งสองเพศช่วยกันพัก ไข่และเลี้ยงดูลูกอ่อน ลูกนกแรกเกิดไม่ลืมตาและไม่มี ขนปกคลุมร่างกาย พ่อแม่ต้องช่วยกันป้อนอาหารจน กระทั่งลูกนกแข็งแรง บินได้ดี และหาอาหารเองได้ จาก นั้นลูกนกก็จะแยกจากพ่อแม่ไปหากินตามลำพัง '''สถานภาพ''' :นกจอกป่าหัวโตเป็นนกประจำถิ่น พบบ่อยและปริมาณปานกลาง พบเฉพาะทางภาคใต้ตั้งแต่คอคอดกระลงไป '''กฎหมาย''' : จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ---- <center>[[ไฟล์:Brown2.jpg]] [[ไฟล์:Brown3.jpg]] [[ไฟล์:Brown4.jpg]]</center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ''' <br> https://dktnfe.com/web59/wp-content/uploads/2014/09/img_4791.jpg<br> http://oknation.nationtv.tv/blog/home/user_data/album_data/201802/13/54348/images/487576.jpg<br> http://www.biogang.net/upload_img/biodiversity/biodiversity-126222-5.jpg<br> https://live.staticflickr.com/4193/33799407644_209c6ec75d_b.jpg<br> '''แหล่งที่มาของเนื้อหา''' <br> จากหนังสือนกในเมืองไทย ผู้เขียน รศ.โอภาส ขอบเขต <br>
กลับไป
นกจอกป่าหัวโต
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
สถานที่ศึกษา
นกกก,นกกาฮัง
นกกระจิบคอดำ
นกกระจิบธรรมดา
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกะเต็นลาย
นกกะเต็นหัวดำ
นกกะเต็นอกขาว
นกกางเขนดง
นกกางเขนน้ำหลังแดง
นกกางเขนบ้าน
นกกาฝากก้นเหลือง
นกกาฝากท้องส้ม
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอแดง
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีม่วง
นกกินปลีท้ายทอยน้ำเงิน
นกกินแมลงคอดำ
นกกินแมลงคอลาย
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกกินแมลงปีกแดง
นกกินแมลงหัวสีน้ำตาล
นกกินแมลงอกเหลือง
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยปีกสีเรียบ
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกเขนน้อยปีกแถบขาว
นกเขาเขียว
นกเขาเปล้าธรรมดา
นกเขาใหญ่, นกเขาหลวง
นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า
นกเขียวก้านตองเล็ก
นกเขียวก้านตองใหญ่
นกเขียวคราม
นกคัคคูสีม่วง
นกเงือกกรามช้าง,นกกู๋กี๋
นกเงือกปากดำ,กาเขา
นกจอกป่าหัวโต
นกจับแมลงคอแดง
นกจับแมลงจุกดำ
นกจับแมลงตะโพกเหลือง
นกจับแมลงสีคล้ำ
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจับแมลงอกส้มท้องขาว
นกจาบคาคอสีฟ้า
นกจาบดินอกลาย
นกแซงแซวเล็กเหลือบ
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกตะขาบดง
นกตะขาบทุ่ง
นกไต่ไม้หน้าผากกำมะหยี่
นกบั้งรอกเขียวอกแดง
นกบั้งรอกแดง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดทอง
นกปรอดท้องสีเทา
นกปรอดเล็กท้องเทา
นกปรอดสวน
นกปรอดสีน้ำตาลตาขาว
นกปรอดสีน้ำตาลตาแดง
นกปรอดหงอนตาขาว
นกปรอดหลังเขียวอกลาย
นกปรอดหลังฟู
นกปรอดเหลืองหัวจุก
นกปรอดโอ่งท้องสีน้ำตาล
นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ
นกปรอดโอ่งไร้หงอน
นกปลีกล้วยเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองใหญ่
นกพญาปากกว้างเล็ก
นกโพระดกคางแดง
นกโพระดกเคราเหลือง
นกโพระดกหน้าผากดำ
นกมุ่นรกสีน้ำตาล
นกสีชมพูสวน
นกหกเล็กปากแดง,นกสี่สิบ
นกหว้า
นกหัวขวานแคระอกเทา
นกหัวขวานแดง
นกหัวขวานแดงลาย
นกหัวขวานป่าไผ่
นกหัวขวานสี่นิ้วหลังทอง
นกกะรางหัวหงอก
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
เหยี่ยวรุ้ง
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า