ดูโค้ดสำหรับ นกกก,นกกาฮัง
←
นกกก,นกกาฮัง
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[https://www.youtube.com/watch?v=LKG5zlmrdqo นกกก,นกกาฮัง] [[ไฟล์:Great .jpg|right]] '''วงศ์''':Bucerotidae <br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''':''Buceros bicornis'' (Linnaeus),1758.<br> '''ชื่อสามัญ''':Great Hornbill<br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''':-<br><br> นกเงือก เป็นนกขนาดใหญ่ ที่อยู่ในวงศ์ Bucerotidae ในอันดับนกตะขาบ (Coraciiformes) (บางข้อมูลซึ่งเป็นข้อมูลเก่าจะจัดให้อยู่ในอันดับ Bucerotiformes ซึ่งเป็นอันดับเฉพาะของนกเงือกเอง แต่ปัจจุบันนับเป็นชื่อพ้อง โดยนับรวมนกเงือกดินเข้าไปด้วย) เป็นนกที่เชื่อว่าถือกำเนิดมานานกว่า 45 ล้านปีมาแล้ว '''กระจายพันธุ์''' : มีการกระจายตั้งแต่ทางตอนใต้ของภูฏาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียเวียดนาม เกาะสุมาตรา บอร์เนียว และบาหลี ในประเทศไทยสามารถพบได้ทั่วไป แหล่งอาศัยพบกระจายในป่าดงดิบ และป่าเบญจพรรณ จากพื้นราบจนถึงระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 1,800 เมตร นอกจากนี้ยังพบตามเกาะต่างๆ พบได้ทั่วทุกภาคของไทย นกเงือกกรามช้างในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่มีพื้นที่อาศัยเท่ากับ 10 – 28 ตารางกิโลเมตร ในช่วงฤดูทำรังและนอกฤดูทำรัง '''ลักษณะทั่วไป''' : นกกก มีขนาด 120-140 เซนติเมตร เป็นนกเงือกที่มีขนาดใหญ่มาก มีสีดำ-ขาว ตัวผู้อาจมีถึงขนาด 1.5 เมตร บริเวณหน้า คาง และส่วนใต้โหนกมีสีดำ คอขาว ปีกสีดำแถบขาว และปลายขนมีสีขาว หางสีขาวมีแถบดำพาดค่อนไปทางปลายหาง จะงอยปากมีสีเหลืองปลายปากมีสีส้ม นกทาสีเหลืองบนโหนกและจะงอยปากรวมทั้งบริเวณหัว ส่วนคอและปีก ด้วยสีของน้ำมันต่อจากโคนหาง โหนกของตัวผู้มีสีดำบริเวณด้านหน้า ม่านตาสีแดง ตัวเมียไม่มีสีดำบริเวณโหนก ม่านตาสีขาว ตัววัยรุ่นมีโหนกขนาดเล็กส่วนหน้าแบน '''อุปนิสัยและอาหาร''' : นกกกหากินตามเรือนยอดไม้ มักชอบอยู่เป็นคู่ บางครั้งนอกฤดูผสมพันธุ์อาจรวมฝูงถึง 150 ตัว นอนอยู่ตามต้นไม้ในหุบเขา แต่บางครั้ง ก็ลงมาหากินบนพื้นดิน เสียงร้องดัง กก กก กก กาฮังๆๆๆ หรือ กะวะ ๆๆ จนมาเป็นที่มาของชื่อ นกกกพบอยู่ในป่าดงดิบชื้น ป่าดงดิบแล้ง หรือป่าเบญจพรรณ ส่วนใหญ่ชอบอยู่บนป่าที่ราบ ระดับความสูงต่ำ 1000 เมตรจากระดับน้ำทะเล แต่ก็อาจพบตามภูเขาสูงถึง 2000 เมตร เช่นทางภาคเหนือของไทย ปัจจุบันนกกสูญพันธุ์ไปแล้วจากทางภาคเหนือเพราะว่าถูกล่าและที่อยู่อาศัยถูกโค่นถางเพื่อทำไร่เลื่อนลอย '''การผสมพันธุ์''' : นกกกผสมพันธุ์ในหน้าหนาวจนถึงหน้าร้อน วางไข่ตามโพรงไม้สูง วางไข่ครั้งละ 1-2 ฟอง ก่อนวางไข่ตัวเมียจะเข้าไปในโพรงแล้วทำการตบแต่งโพรงก่อน ตัวผู้คาบดินผสมกับมูลของตัวเมียโบกปิดปากโพรง หรืออาจใช้อาหารที่กินเข้าไปแล้วสำรอกออกมาเพื่อปิดปากโพรง เหลือช่องไว้ตรงกลางพอให้ตัวเมียยื่นปากออกมาได้ ขณะที่ตัวเมียกกไข่และเลี้ยงลูกอยู่นี้ ตัวผู้จะหาอาหารมาเลี้ยงลูกและเมียของมัน ตัวเมียจะผลัดขนออกและขนขึ้นใหม่เต็ม ซึ่งกินเวลาพร้อมๆไปกับลูกของมันมีขนขึ้นเต็ม เมื่อขนขึ้นเต็มตัวเมียจะจิกปากโพรงออกแล้วหัดบินพร้อมกับลูก '''ไข่''' : ไข่นกนั้นมีสีสันแตกต่างกันออกไป พวกที่วางไข่ตาม โพรงไม้ หรือในโพรงดินมักจะมีสีขาว นกที่วางไข่ตามกอหญ้า บนดินทราย หรือตามหิน ก็มักจะมีสีสันคล้ายพื้นที่บริเวณนั้นๆ เพื่อพรางตาจากศัตรูของมัน '''กฎหมาย''' : จัดเป็นสัตว์ป่าสงวนหรือสัตว์ป่าคุ้มครอง<br> ---- <center>[[ไฟล์:Great1.png]] [[ไฟล์:Great2.jpg]] [[ไฟล์:Great3.jpg]] </center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ''' <br> https://www.westernforest.org/images/th_zoborozec_velky_detail_1024.jpg<br> http://oknation.nationtv.tv/blog/home/user_data/album_data/201810/01/54391/images/488217.jpg<br> https://athidtiya1995.files.wordpress.com/2014/11/p-36-e0b899e0b881e0b881e0b881-e0b895e0b8b1e0b8a7e0b980e0b8a1e0b8b5e0b8a2e0b88be0b989e0b8b2e0b8a2e0b8a1e0b8b7e0b8ade0b981e0b8a5e0b8b0.jpg<br> http://pirun.ku.ac.th/~b5310302875/New%20Folder/Great-Hornbill.jpg<br> '''แหล่งที่มาของเนื้อหา''' <br> https://pasusat.com/%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81/ <br> http://www.dusit.zoothailand.org/animal_view.php?detail_id=122&c_id= <br> http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=1&chap=4&page=t1-4-infodetail05.html <br> http://hornbill.or.th/th/about-hornbills/hornbill-species/great-hornbill/ <br>
กลับไป
นกกก,นกกาฮัง
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
สถานที่ศึกษา
นกกก,นกกาฮัง
นกกระจิบคอดำ
นกกระจิบธรรมดา
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกะเต็นลาย
นกกะเต็นหัวดำ
นกกะเต็นอกขาว
นกกางเขนดง
นกกางเขนน้ำหลังแดง
นกกางเขนบ้าน
นกกาฝากก้นเหลือง
นกกาฝากท้องส้ม
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอแดง
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีม่วง
นกกินปลีท้ายทอยน้ำเงิน
นกกินแมลงคอดำ
นกกินแมลงคอลาย
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกกินแมลงปีกแดง
นกกินแมลงหัวสีน้ำตาล
นกกินแมลงอกเหลือง
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยปีกสีเรียบ
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกเขนน้อยปีกแถบขาว
นกเขาเขียว
นกเขาเปล้าธรรมดา
นกเขาใหญ่, นกเขาหลวง
นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า
นกเขียวก้านตองเล็ก
นกเขียวก้านตองใหญ่
นกเขียวคราม
นกคัคคูสีม่วง
นกเงือกกรามช้าง,นกกู๋กี๋
นกเงือกปากดำ,กาเขา
นกจอกป่าหัวโต
นกจับแมลงคอแดง
นกจับแมลงจุกดำ
นกจับแมลงตะโพกเหลือง
นกจับแมลงสีคล้ำ
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจับแมลงอกส้มท้องขาว
นกจาบคาคอสีฟ้า
นกจาบดินอกลาย
นกแซงแซวเล็กเหลือบ
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกตะขาบดง
นกตะขาบทุ่ง
นกไต่ไม้หน้าผากกำมะหยี่
นกบั้งรอกเขียวอกแดง
นกบั้งรอกแดง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดทอง
นกปรอดท้องสีเทา
นกปรอดเล็กท้องเทา
นกปรอดสวน
นกปรอดสีน้ำตาลตาขาว
นกปรอดสีน้ำตาลตาแดง
นกปรอดหงอนตาขาว
นกปรอดหลังเขียวอกลาย
นกปรอดหลังฟู
นกปรอดเหลืองหัวจุก
นกปรอดโอ่งท้องสีน้ำตาล
นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ
นกปรอดโอ่งไร้หงอน
นกปลีกล้วยเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองใหญ่
นกพญาปากกว้างเล็ก
นกโพระดกคางแดง
นกโพระดกเคราเหลือง
นกโพระดกหน้าผากดำ
นกมุ่นรกสีน้ำตาล
นกสีชมพูสวน
นกหกเล็กปากแดง,นกสี่สิบ
นกหว้า
นกหัวขวานแคระอกเทา
นกหัวขวานแดง
นกหัวขวานแดงลาย
นกหัวขวานป่าไผ่
นกหัวขวานสี่นิ้วหลังทอง
นกกะรางหัวหงอก
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
เหยี่ยวรุ้ง
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า