ดูโค้ดสำหรับ นกกางเขนบ้าน
←
นกกางเขนบ้าน
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[https://www.youtube.com/watch?v=DPmF8iSBu9E นกกางเขนบ้าน] [[ไฟล์:Oriental1.jpg|right]] '''วงศ์''':Muscicapinae <br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''':''Copsychus saularis'' (Linnaeus) 1758.<br> '''ชื่อสามัญ''':Oriental magpie robin<br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''':นกบินหลาบ้าน , นกจีแจ้บ , นกจีจู๊ , นกอีปุ้ย , นกอีพุ้ย , Magpie robin<br><br> มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Copsychus saularis'' ชื่อชนิดมาจากคำในภาษาฮินดูคือ saulary ซึ่งหมายถึงนกกางเขบ้านโดยเฉพาะ พบครั้งแรกที่รัฐเบงกอลประเทศอินเดีย ทั่วโลกมี 18 ชนิดย่อย ประเทศไทยพบ 3 ชนิดย่อย คือ #Copsychu saularis saularis (Linnaeus)ที่มาและความหมายของชื่อชนิดย่อยเช่นเดียวกับชื่อชนิด #Copsychus saularis erimelas Oberholser ชื่อชนิดย่อยมาจากรากศัพท์ภาษากรีกคือ eri แปลว่ามาก และ =melas แปลว่าสีดำ ความหมายคือ “นกที่มีสีดำมากกว่าสีขาว” พบครั้งแรกที่เมืองตะนาวศรี ทางตอนใต้ของประเทศพม่า #Copsychus saularis musicus (Raffles) ชื่อชนิดย่อยมาจากคำในภาษาละตินคือ musicus แปลว่าเสียงดนตรี (รากศัพท์ภาษากรีก music,-o หรือ mousikos ก็แปลว่าเสียงดนตรี) ความหมายคือ “นกที่มีเสียงร้องที่ไพเราะ” พบครั้งแรกที่เกาะสุมาตราประเทศอินโดนีเซีย '''กระจายพันธุ์''' : ในปากีสถาน อินเดีย จีนตอนใต้เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกาะไหหลำ หมู่เกาะอันดามันหมู่เกาะซุนดาใหญ่ และฟิลิปปินส์ '''ลักษณะทั่วไป''' : เป็นนกขนาดเล็ก (23 ซม.) ปากสักษณะเรียวแหลม คอสั้น ปียาวแหลม หางยาว ปลายหางมนและแผ่ออกเส็กน้อยเป็นรูปพัด ขายาวปานกลาง ตัวผู้ลำตัวด้านบนทั้งหมดเป็นสีดำ ปีกดำมีแถบสีขาวชัดเจน หางสีดำโดยขนหางคู่นอก ๆ เป็นสีขาว ตัวเมียลักษณะคล้ายตัวผู้ โดยบริเวณที่เป็นสีดำในตัวผู้เป็นสีเทาเข้ม ตัวไม่เต็มวัยบริเวณที่เป็นสีเข้มมักมีลายจุดด้วย '''อุปนิสัยและอาหาร''' : อาศัยอยู่ตามป่าเต็งรัง ป่ารุ่น ทุ่งโล่ง สวนผลไม้ ป่าชายเลนที่ถูกตัดฟัน และบริเวณใกล้บ้านเรือนคน ตั้งแต่พื้นราบจนกระทั่งความสูง 1,800 เมตรจากระดับน้ำทะเล เป็นนกที่ค่อนข้างคุ้นเคยกันมากชนิดหนึ่ง พบอยู่โดดเดี่ยว เป็นคู่ หรือเป็นครอบครัวพ่อแม่ลูก มักพบเกาะตามกิ่งของต้นไม้ ไม้พุ่ม ไผ่ สายไฟฟ้า รั้วลวดหนาม รั้วไม้ หลังคาบ้าน และสิ่งก่อสร้าง บ่อยครั้งที่พบยืนบนเนินดิน พื้นดิน หรือสนามหญ้า ตัวผู้ขณะเกาะหรือยืนมักยกหางขึ้นในลักษณะดังกล่าว นกกางเขนบ้านมีเสียงร้องไพเราะและร้องได้หลายเสียงเพื่อเกี้ยวพาราสี ป้องกันอาณาเขต และเรียกลูกนก กินแมลงและตัวหนอนเป็นอาหาร โดยจิกกินตามกิ่งของพืช หรือจ้องหาเหยื่อตามพื้นดิน โฉบด้วยปาก แล้วนำกลับไปกินบริเวณที่เกาะ บ่อยครั้งที่พบกระโดดหรือเดินไล่จิกแมลงตามพื้นดินและสนามหญ้าและบางครั้งก็บินโฉบจับแมลงโดยเฉพาะแมลงเม่าบินขึ้นจากรูหรือโพรงดิน '''การผสมพันธุ์''' : ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนและฤดูฝนระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนกรกฎาคม ทำรังตามโพรงขอต้นไม้ ซึ่งเป็นโพรงที่เกิดตามธรรมชาติหรือโพรงที่นกหรือสัตว์อื่นทำทิ้งไว้ บางครั้งทำรังตามคอต้นมะพร้าวและหลืบหรือชายยคาบ้านหรือสิ่งก่อสร้างทั้งสองเพศช่วยกันหาวัสดุ เช่น ใบหญ้า ใบไม้ ใบไผ่ ใบมะพร้าว นำมาวางซ้อนกัน รังปกติมีไข่ 4 ฟอง แต่อาจพบ 3 หรือ 4 ฟอง ไข่สีเขียวอมฟ้า มีลายจุดและลายขีดสีน้ำตาลทั่วฟอง ขนาดของไข่โดยเฉลี่ย 16.77X22.45 มม. ทั้งสองเพศช่วยกันฟักไข่ จะเริ่มฟักหลังจากออกไข่ฟองสุดท้ายของรังแล้ว ใช้เวลาฟักไข่ทั้งสิ้น 15 วัน '''ลูกนก''' : ลูกนกที่ออกจากไข่มาใหม่ ๆ มีรูปร่างเทอะทะหัวโต ตาโต ยังไม่ลืมตา และไม่มีขนปกคลุมร่างกายช่วงนี้พ่อแม่จะช่วยกันหาอาหารมาป้อน ซึ่งส่วนใหญ่ ได้แก่ ตัวหนอน และช่วยกันกกให้ความอบอุ่น ลูกนกเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายค่อนข้างเร็ว อายุประมาณ 3-5 วันจะเริ่มมีขนขึ้นห่าง ๆ อายุ 7-9 วันมีขนคลุมเกือบเต็มตัว อายุ 10-12 วันมีขนคลุมเต็มตัวและสามารถเดินภายในรังหรือเกาะขอบรังได้ อายุ 15-16 วันเริ่มหัดบินในระยะใกล้ ๆ กับรัง อายุ 20-21 วัน จะสามารถบินได้แข็งแรง ยังคงอาศัยอยู่เป็นครอบครัวแต่ไม่กลับไปยังรังอีก ลูกนกจะแยกจากพ่อแม่ไปหากินตามลำพังเมื่อโตเต็มที่ ลูนกอายุ 1 ปีสามารถที่จะสืบพันธุ์ให้ลูกหลานได้ '''สถานภาพ''' : เป็นนกประจำถิ่น พบบ่อยและปริมาณมาก ชนิดย่อย saularis พบทางภาคเหนือด้านตะวันตก ชนิดย่อย erimelas พบทางภาคเหนือด้านตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ ภาคกลางและภาคตะวันตก และชนิดย่อย musicus พบทางภาคใต้ '''กฎหมาย''' : จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ---- <center>[[ไฟล์:Oriental2.jpg]] [[ไฟล์:Oriental3.jpg]] [[ไฟล์:Oriental4.jpg]]</center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ''' <br> http://1.bp.blogspot.com/-DzkONuqukAw/VICUnnL07SI/AAAAAAAAABk/uq20iNhF6DQ/s1600/ดาวน์โหลด.jpg<br> https://live.staticflickr.com/3315/3600965036_b6cdf0a3fd_z.jpg<br> http://www.lowernorthernbird.com/bird_picture/large/2013_03_31_12_27_11.jpg<br> http://4.bp.blogspot.com/-Xdgkuxc1Uno/U2SCPApMHmI/AAAAAAAAB8E/6hLJYmkHhQ8/s1600/%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2582%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%259A%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599.jpg<br> '''แหล่งที่มาของเนื้อหา''' <br> จากหนังสือนกในเมืองไทย ผู้เขียน รศ.โอภาส ขอบเขต <br>
กลับไป
นกกางเขนบ้าน
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
สถานที่ศึกษา
นกกก,นกกาฮัง
นกกระจิบคอดำ
นกกระจิบธรรมดา
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกะเต็นลาย
นกกะเต็นหัวดำ
นกกะเต็นอกขาว
นกกางเขนดง
นกกางเขนน้ำหลังแดง
นกกางเขนบ้าน
นกกาฝากก้นเหลือง
นกกาฝากท้องส้ม
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอแดง
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีม่วง
นกกินปลีท้ายทอยน้ำเงิน
นกกินแมลงคอดำ
นกกินแมลงคอลาย
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกกินแมลงปีกแดง
นกกินแมลงหัวสีน้ำตาล
นกกินแมลงอกเหลือง
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยปีกสีเรียบ
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกเขนน้อยปีกแถบขาว
นกเขาเขียว
นกเขาเปล้าธรรมดา
นกเขาใหญ่, นกเขาหลวง
นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า
นกเขียวก้านตองเล็ก
นกเขียวก้านตองใหญ่
นกเขียวคราม
นกคัคคูสีม่วง
นกเงือกกรามช้าง,นกกู๋กี๋
นกเงือกปากดำ,กาเขา
นกจอกป่าหัวโต
นกจับแมลงคอแดง
นกจับแมลงจุกดำ
นกจับแมลงตะโพกเหลือง
นกจับแมลงสีคล้ำ
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจับแมลงอกส้มท้องขาว
นกจาบคาคอสีฟ้า
นกจาบดินอกลาย
นกแซงแซวเล็กเหลือบ
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกตะขาบดง
นกตะขาบทุ่ง
นกไต่ไม้หน้าผากกำมะหยี่
นกบั้งรอกเขียวอกแดง
นกบั้งรอกแดง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดทอง
นกปรอดท้องสีเทา
นกปรอดเล็กท้องเทา
นกปรอดสวน
นกปรอดสีน้ำตาลตาขาว
นกปรอดสีน้ำตาลตาแดง
นกปรอดหงอนตาขาว
นกปรอดหลังเขียวอกลาย
นกปรอดหลังฟู
นกปรอดเหลืองหัวจุก
นกปรอดโอ่งท้องสีน้ำตาล
นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ
นกปรอดโอ่งไร้หงอน
นกปลีกล้วยเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองใหญ่
นกพญาปากกว้างเล็ก
นกโพระดกคางแดง
นกโพระดกเคราเหลือง
นกโพระดกหน้าผากดำ
นกมุ่นรกสีน้ำตาล
นกสีชมพูสวน
นกหกเล็กปากแดง,นกสี่สิบ
นกหว้า
นกหัวขวานแคระอกเทา
นกหัวขวานแดง
นกหัวขวานแดงลาย
นกหัวขวานป่าไผ่
นกหัวขวานสี่นิ้วหลังทอง
นกกะรางหัวหงอก
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
เหยี่ยวรุ้ง
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า