ดูโค้ดสำหรับ นกกระจิบคอดำ
←
นกกระจิบคอดำ
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[https://www.youtube.com/watch?v=9ahUxu8uMMo นกกระจิบคอดำ] [[ไฟล์:Dark-necked.jpg|right]] '''วงศ์''' : Cisticolidae <br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Orthotomus atrogularis''(Temminck),1836 .<br> '''ชื่อสามัญ''' : Dark-necked Tailorbird<br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : Black-necked Tailorbird<br><br> มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Orthotomus atrogularis'' ชื่อชนิดมาจากรากศัพท์ภาษาละตินคือ atr, -i หรือ ater แปลว่าสีดํา และ gularis (gul, =a) แปลว่าคอหอย ความหมายคือ “นกที่มีคอหอยสีดํา” พบครั้งแรกที่ประเทศมาเลเซีย ทั่วโลกมี 10 ชนิดย่อย ประเทศไทยพบ 2 ชนิดย่อยคือ Orthotomus atrogularis atrogularis Temminck ที่มาและความหมายของ ชื่อชนิดย่อยเช่นเดียวกับชนิด และ Orthotomus atrogularis nitidus Hume ชื่อชนิดย่อยมาจากราก ศัพท์ภาษาละตินคือ nitid แปลว่าส่องแสงหรือสวยงาม ความหมายคือ “นกที่มีสีสดใสสวยงาม” พบครั้งแรกที่เมืองตะนาวศรี ทางตอนใต้ของประเทศพม่า '''กระจายพันธุ์''' : ตั้งแต่สิกขิมจนถึงจีนด้านตะวันตกเฉีบงใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียว และฟิลิปปินส์ '''ลักษณะทั่วไป''' : เป็นนกขนาดเล็กมาก (11 ซม.) แตกต่างจากนกกระจิบธรรมดาโดยขนคลุมโคนขนหาง ด้านล่างสีเหลือง บางครั้งลําตัวด้านบนสีเขียวแกมเหลืองเข้มกว่า ในห้องปฏิบัติการจะเห็นขอบปีกเป็นสีเหลือง ตัวเมียและตัวไม่เต็มวัยคล้ายกับนกกระจิบธรรมดา ส่วนตัวผู้บริเวณคอหอยตอนล่างและด้านข้างของคอมีสีออกดํา หัวตาและกระหม่อมสีน้ำตาลแดง ท้ายทอยสีน้ำตาลแดงหรือเขียวแกมเหลือง '''อุปนิสัยและอาหาร''' : พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบชื้น ป่าดงดิบแล้ง ป่าชายเลน ป่าละเมาะที่ค่อนข้างขึ้น ตั้งแต่พื้นราบจนกระทั่งความสูง 1,200 เมตรจาก ระดับน้ำทะเล ไม่ค่อยพบในป่าหรือบริเวณที่ค่อนข้าง แห้งแล้งซึ่งพบนกกระจิบธรรมดา มักพบอยู่โดดเดี่ยวหรือเป็นคู่ มักเกาะตามพุ่มไม้หรือพืชต่าง ๆ ทําให้ไม่ ค่อยเห็นตัว นอกจากได้ยินเสียงร้อง “กริ-ริ-ริ” ซึ่ง แตกต่างจากนกกระจิบธรรมดาชัดเจน อาหารได้แก่ แมลงและตัวหนอน อาจกินน้ำหวานดอกไม้บางชนิดด้วย '''การผสมพันธุ์''' : ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนและต้นฤดูฝนระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน ลักษณะรังไม่แตกต่างจากรังนกกระจิบธรรมดา แต่มักใช้ใบไม้หรือใบพืชเพียงใบเดียวโอบเข้าหากัน แล้วใช้ใยแมงมุมเย็บ หรือเชื่อมขอบใบให้ติดกันเป็นรูปกระเปาะ จากนั้นรองพื้นรังด้วยดอกหญ้าหรือใบไม้แห้ง รังมีไข่ 3-5 ฟองโดยพบ 4 ฟองบ่อยที่สุด ขนาดของไข่โดยเฉลี่ย 11.4x15.4 มม. ชีววิทยาการสืบพันธุ์ด้านอื่นไม่ แตกต่างจากนกกระจิบธรรมดา เป็นนกอีกชนิดหนึ่งที่มักถูกนกอีวาบตั๊กแตน และนกคัดคูขนาดเล็กแอบมาวางไข่ให้ฟักไข่และเลี้ยง ดูลูกอ่อนแทน '''สถานภาพ''' : เป็นนกประจำถิ่น พบบ่อยและปริมาณมาก ชนิดย่อย nitidus พบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ชนิดย่อย atrogularis พบทางภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดประจวบคีรึขันธ์ลงไป '''กฎหมาย''' : จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง '''ลิงค์ข้อมูลเพิ่มเติม'''<br> [[File:youtube01.png|left|https://www.youtube.com/watch?v=9ahUxu8uMMo//https:|link=//https://www.youtube.com/watch?v=9ahUxu8uMMo]] >>> [https://www.youtube.com/watch?v=9ahUxu8uMMo นกกก,นกกาฮัง] <<< <br><br> ---- <center>[[ไฟล์:Dark-necked1.jpg]] [[ไฟล์:Dark-necked2.jpg]] [[ไฟล์:Dark-necked3.jpg]]</center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ''' <br> http://oknation.nationtv.tv/blog/home/user_data/album_data/201205/24/50639/images/455872.jpg<br> http://oknation.nationtv.tv/blog/home/user_data/album_data/201205/24/50639/images/455875.jpg<br> https://dktnfe.com/web59/wp-content/uploads/2014/08/darknecked_tailorbird_copy2.jpg<br> http://www.lowernorthernbird.com/bird_picture/large/2016_05_15_13_33_15.jpg<br> '''แหล่งที่มาของเนื้อหา''' <br> จากหนังสือนกในเมืองไทย ผู้เขียน รศ.โอภาส ขอบเขต <br>
กลับไป
นกกระจิบคอดำ
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
สถานที่ศึกษา
นกกก,นกกาฮัง
นกกระจิบคอดำ
นกกระจิบธรรมดา
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกะเต็นลาย
นกกะเต็นหัวดำ
นกกะเต็นอกขาว
นกกางเขนดง
นกกางเขนน้ำหลังแดง
นกกางเขนบ้าน
นกกาฝากก้นเหลือง
นกกาฝากท้องส้ม
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอแดง
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีม่วง
นกกินปลีท้ายทอยน้ำเงิน
นกกินแมลงคอดำ
นกกินแมลงคอลาย
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกกินแมลงปีกแดง
นกกินแมลงหัวสีน้ำตาล
นกกินแมลงอกเหลือง
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยปีกสีเรียบ
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกเขนน้อยปีกแถบขาว
นกเขาเขียว
นกเขาเปล้าธรรมดา
นกเขาใหญ่, นกเขาหลวง
นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า
นกเขียวก้านตองเล็ก
นกเขียวก้านตองใหญ่
นกเขียวคราม
นกคัคคูสีม่วง
นกเงือกกรามช้าง,นกกู๋กี๋
นกเงือกปากดำ,กาเขา
นกจอกป่าหัวโต
นกจับแมลงคอแดง
นกจับแมลงจุกดำ
นกจับแมลงตะโพกเหลือง
นกจับแมลงสีคล้ำ
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจับแมลงอกส้มท้องขาว
นกจาบคาคอสีฟ้า
นกจาบดินอกลาย
นกแซงแซวเล็กเหลือบ
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกตะขาบดง
นกตะขาบทุ่ง
นกไต่ไม้หน้าผากกำมะหยี่
นกบั้งรอกเขียวอกแดง
นกบั้งรอกแดง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดทอง
นกปรอดท้องสีเทา
นกปรอดเล็กท้องเทา
นกปรอดสวน
นกปรอดสีน้ำตาลตาขาว
นกปรอดสีน้ำตาลตาแดง
นกปรอดหงอนตาขาว
นกปรอดหลังเขียวอกลาย
นกปรอดหลังฟู
นกปรอดเหลืองหัวจุก
นกปรอดโอ่งท้องสีน้ำตาล
นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ
นกปรอดโอ่งไร้หงอน
นกปลีกล้วยเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองใหญ่
นกพญาปากกว้างเล็ก
นกโพระดกคางแดง
นกโพระดกเคราเหลือง
นกโพระดกหน้าผากดำ
นกมุ่นรกสีน้ำตาล
นกสีชมพูสวน
นกหกเล็กปากแดง,นกสี่สิบ
นกหว้า
นกหัวขวานแคระอกเทา
นกหัวขวานแดง
นกหัวขวานแดงลาย
นกหัวขวานป่าไผ่
นกหัวขวานสี่นิ้วหลังทอง
นกกะรางหัวหงอก
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
เหยี่ยวรุ้ง
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า