ดูโค้ดสำหรับ นกปรอดคอลาย
←
นกปรอดคอลาย
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[[ไฟล์:Stripe-throated1.jpg|right]] '''วงศ์''':Pycnonotidae <br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''':''Pycnonotus finlaysoni'' (Strickland), 1844.<br> '''ชื่อสามัญ''':Stripe-throated bulbul<br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''':-<br><br> มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Pycnonotus finlaysoni'' ชื่อชนิดมาจากชื่อบุคคลคือ George Finlayson (ค.ศ.1790-1823) นักธรรมชาติวิทยาและศัลยแพทย์ชาวสกอตแลนด์ พบครั้งแรกที่ประเทศมาเลเซีย ทั่วโลกมี 3 ชนิดย่อย ประเทศได้พบ 2 ชนิดย่อย คือ Pycnonotus finlaysoni finlaysoni Strickland ที่มาของชื่อชนิดย่อยเช่นเดียวกับชนิด และ Pycnonotus finlaysoni eous Riley ชื่อชนิดย่อยอาจมาจากรากศัพท์ภาษากรีกคือ eos แปลว่าเช้าตรู่หรือทิศตะวันออก ความหมายคือ "นกที่พบทางด้านทิศตะวันออก" พบครั้งแรกที่ประเทศเวียดนาม ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกของสถานที่พบนกต้นแบบ '''กระจายพันธุ์''' : ในจีนด้านตะวันตกเฉียงใต้และเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ '''ลักษณะทั่วไป''' : เป็นนกขนาดเล็ก (19 ซม.) แตกต่างจากนกปรอดอื่นตรงที่มีลายขีดสีเหลืองกระจายบริเวณหน้าผาก ใบหน้า และคอหอย ลำตัวด้านบนสีเขียวแกมน้ำตาล ท้องตอนหน้าสีขาวแกมสีเทา ท้องทางด้านท้ายและขนคลุมโคนขนหางด้านล่างสีเหลือง '''อุปนิสัยและอาหาร''' : พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบชื้น ป่าดงดิบแล้ง ป่ารุ่น ป่าโล่ง ตั้งแต่พื้นราบจรกระทั่งความสูง 900 เมตรจากระดับน้ำทะเล มักพบอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูงเล็ก ๆ พบเป็นประจำบริเวณไม้พุ่ม ไม้พื้นล่าง หรือลูกไม้ บางครั้งพบตามยอดไม้ที่ค่อนข้างสูง อาหารได้แก่ ผลไม้ เมล็ดของไม้ต้น ตัวหนอน และแมลง พฤติกรรมกินอาหารไม่แตกต่างจากนกปรอดอื่น '''การผสมพันธุ์''' : ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนต่อฤดูฝน ส่วนใหญ่ทำรังตามพุ่มไม้ กิ่งของต้นไม้ใหญ่ หรือเถาวัลย์ ซึ่งสูงจากพื้นดินไม่มากนัก ราว 0.6-4.5 เมตร ไกรรัตน์ (2539) ศึกษารังของนกปรอดคอลายในป่าดงดิบแล้ง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี พบว่า รังเป็นรูปถ้วย มีเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 8.00 ภายนอก 9.15 ซม. รังประกอบด้วยกิ่งไม้เล็ก ๆ เส้นกลางของใบไม้และใบหญ้า นำมาสานหรือขัดกันหยาบ ๆ สามารถมองทะลุพื้นรังได้ แล้วเชื่อมวัสดุให้ติดกันด้วยใยแมงมุมโดยเฉพาะบริเวณขอบรัง ทำแอ่งตรงกลาง จากนั้นรองรังด้วยรากไม้หรือเถาวัลย์ที่ละเอียด รังมีไข่ 2 ฟอง '''ไข่''' : สีครีม มีลายสีออกแดงและสีเทา ขนาดของไข่โดยเฉลี่ย 20.8x15.7 มม. ทั้งสองเพศช่วยกันทำรัง ฟักไข่ และเลี้ยงดูลูกอ่อน เริ่มฟักตั้งแต่วางไข่ฟองแรก ใช้ระยะเวลาฟักไข่ 13-14 วัน ลูกนกอายุ 12-13 วันจะบินได้และทิ้งรังไป '''สถานภาพ''' : เป็นนกประจำถิ่น พบบ่อยและปริมาณปานลาง ชนิดย่อย eous พบทางภาคเหนือด้านตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคตะวันตก ชนิดย่อย finlaysoni พบทางภาคใต้ตั้งแต่คอคอดกระลงไป '''กฎหมาย''' : จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ---- <center>[[ไฟล์:Stripe-throated2.jpg]] [[ไฟล์:Stripe-throated3.jpg]] [[ไฟล์:Stripe-throated4.jpg]]</center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ''' <br> http://oknation.nationtv.tv/blog/home/user_data/album_data/201307/27/52858/images/473876.jpg<br> http://www.lowernorthernbird.com/bird_picture/large/2018_01_22_19_15_18.jpg<br> http://oknation.nationtv.tv/blog/home/user_data/album_data/201307/27/52858/images/473877.jpg<br> hhttp://oknation.nationtv.tv/blog/home/user_data/album_data/201307/27/52858/images/473880.jpg<br> '''แหล่งที่มาของเนื้อหา''' <br> จากหนังสือนกในเมืองไทย ผู้เขียน รศ.โอภาส ขอบเขต <br>
กลับไป
นกปรอดคอลาย
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
สถานที่ศึกษา
นกกก,นกกาฮัง
นกกระจิบคอดำ
นกกระจิบธรรมดา
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกะเต็นลาย
นกกะเต็นหัวดำ
นกกะเต็นอกขาว
นกกางเขนดง
นกกางเขนน้ำหลังแดง
นกกางเขนบ้าน
นกกาฝากก้นเหลือง
นกกาฝากท้องส้ม
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอแดง
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีม่วง
นกกินปลีท้ายทอยน้ำเงิน
นกกินแมลงคอดำ
นกกินแมลงคอลาย
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกกินแมลงปีกแดง
นกกินแมลงหัวสีน้ำตาล
นกกินแมลงอกเหลือง
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยปีกสีเรียบ
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกเขนน้อยปีกแถบขาว
นกเขาเขียว
นกเขาเปล้าธรรมดา
นกเขาใหญ่, นกเขาหลวง
นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า
นกเขียวก้านตองเล็ก
นกเขียวก้านตองใหญ่
นกเขียวคราม
นกคัคคูสีม่วง
นกเงือกกรามช้าง,นกกู๋กี๋
นกเงือกปากดำ,กาเขา
นกจอกป่าหัวโต
นกจับแมลงคอแดง
นกจับแมลงจุกดำ
นกจับแมลงตะโพกเหลือง
นกจับแมลงสีคล้ำ
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจับแมลงอกส้มท้องขาว
นกจาบคาคอสีฟ้า
นกจาบดินอกลาย
นกแซงแซวเล็กเหลือบ
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกตะขาบดง
นกตะขาบทุ่ง
นกไต่ไม้หน้าผากกำมะหยี่
นกบั้งรอกเขียวอกแดง
นกบั้งรอกแดง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดทอง
นกปรอดท้องสีเทา
นกปรอดเล็กท้องเทา
นกปรอดสวน
นกปรอดสีน้ำตาลตาขาว
นกปรอดสีน้ำตาลตาแดง
นกปรอดหงอนตาขาว
นกปรอดหลังเขียวอกลาย
นกปรอดหลังฟู
นกปรอดเหลืองหัวจุก
นกปรอดโอ่งท้องสีน้ำตาล
นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ
นกปรอดโอ่งไร้หงอน
นกปลีกล้วยเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองใหญ่
นกพญาปากกว้างเล็ก
นกโพระดกคางแดง
นกโพระดกเคราเหลือง
นกโพระดกหน้าผากดำ
นกมุ่นรกสีน้ำตาล
นกสีชมพูสวน
นกหกเล็กปากแดง,นกสี่สิบ
นกหว้า
นกหัวขวานแคระอกเทา
นกหัวขวานแดง
นกหัวขวานแดงลาย
นกหัวขวานป่าไผ่
นกหัวขวานสี่นิ้วหลังทอง
นกกะรางหัวหงอก
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
เหยี่ยวรุ้ง
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า