ดูโค้ดสำหรับ นกบั้งรอกแดง
←
นกบั้งรอกแดง
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[[ไฟล์:Raffles' Malkoha.jpg|right]] '''วงศ์''':Cuculidae <br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''':''Phaenicophaeus chlorophaeus '' (Raffles) 1822.<br> '''ชื่อสามัญ''':Raffles' Malkoha <br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''':-<br><br> นกตะขาบทุ่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Phaenicophaeus chlorophaeus'' ชื่อชนิดมาจากรากศัพท์ภาษา กรีกคือ chlor, -o หรือ khloros แปลว่าสีเขียว และ phaea แปลว่าตา อาจหมายถึง “มีแผ่นหนังรอบตาสีเขียว” พบครั้งแรกที่เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ทั่วโลกมีนกบั้งรอกแดง 3 ชนิดย่อย ประเทศไทยพบ 1 ชนิดย่อยคือ Phaenicophaeus chlorophaeus chlorophaeus (Raffles) ชื่อชนิดย่อยมีที่มาและความหมายเช่นเดียวกับชื่อชนิดHoward and Moore (1980) จัดนกบั้งรอกแดงไว้ในสกุล Rhinortha ซึ่งแตกต่างจากนกบั้งรอกอื่น ชื่อสกุลมาจากรากศัพท์ภาษากรีกคือ rhin, -o หรือ rhis แปลว่าจมูก และ orth, -o หรือ orthos แปลว่า ตรง ความหมายคือ “นกที่มีปากตรง” '''กระจายพันธุ์''' : ในพม่า ไทย มาเลเซีย เกาะสุมาตรา และเกาะบอร์เนียว '''ลักษณะทั่วไป''' : เป็นนกขนาดเล็ก (32-33 ซม.) เฉพาะหางยาว 18-19 ซม. จัดเป็นนกบั้งรอกที่เล็กที่สุดในประเทศไทย ปากสีเขียวอ่อน หนังรอบตาสีเขียวจาง ตัวผู้ลำตัวด้านบนสีน้ำตาลแดง หางสีออกดำ ปลายขนหางสีขาว ขนหางด้านล่างมีแถบสีขาวเล็ก ๆ 4 แถบ คอหอย อก และท้องสีน้ำตาลเหลืองแกมสีเนื้อ ตัวเมียลำตัวด้านบนสีน้ำตาลแดง หัว คอ คอหอย และ อกสีเทา ลำตัวด้านล่างสีน้ำตาลเหลืองแกมสีเนื้อ หางสีน้ำตาลแดง ปลายขนหางสีขาว ขนหางด้านล่างมีแถบสีขาวเล็ก ๆ 4 แถบ '''อุปนิสัยและอาหาร''':อาศัยอยู่ตามป่าดงดิบชื้น และป่าระดับต่ำที่มีระดับความสูงไม่เกิน 900 เมตร จากระดับน้ำทะเล พบอยู่โดดเดี่ยว หรือเป็นฝูงเล็ก ๆ 4-5 ตัว นกบั้งรอกแดงมีอุปนิสัยคล้ายกับนกบั้งรอก อื่นคือมักกระโดดไปตามกิ่งไม้ โดยเฉพาะไม้พุ่มหรือไม้ พื้นล่างที่มีใบแน่นทึบ แต่จะแตกต่างตรงที่มันชอบบิน จากต้นไม้ต้นหนึ่งไปยังอีกต้นหนึ่งมากกว่านกบั้งรอกอื่น อาหาร ได้แก่ ตัวหนอนและแมลง เช่น จักจั่น ด้วงปีกแข็ง ตักแตนกิ่งไม้ เป็นต้น มันหาอาหารโดย จิกกินตามกิ่งและยอดไม้ '' '''การผสมพันธุ์''' : นกบั้งรอกแดงผสมพันธุ์ในช่วง ฤดูร้อนต่อฤดูฝนระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม ลักษณะรังและชีววิทยาการสืบพันธุ์อื่นเหมือนกับนก บั้งรอกเล็กท้องเทา นกบั้งรอกเล็กท้องแดง และนก บังรอกใหญ่ จะต่างกันตรงที่นกบังรอกแดงมีไข่เล็กกว่า เพราะนกบั้งรอกแดงมีขนาดเล็กกว่านกบั้งรอกอื่น '''สถานภาพ''' :นกบั้งรอกแดงเป็นนกประจำถิ่น พบบ่อยและปริมาณปานกลาง พบเฉพาะทางภาคใต้ เท่านั้น '''กฎหมาย''' :จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง '''ลิงค์ข้อมูลเพิ่มเติม''' [[File:youtube01.png|left|https://https://www.youtube.com/watch?v=ykh6NYtGIvo//https://www.youtube.com/watch?v=ykh6NYtGIvo]] >>> [https://www.youtube.com/watch?v=ykh6NYtGIvo นกบั้งรอกแดง] <<< <br><br> ---- <center>[[ไฟล์:Raffles' Malkoha1.jpg]] [[ไฟล์:Raffles' Malkoha2.jpg]] [[ไฟล์:Raffles' Malkoha3.jpg]]</center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ''' <br> http://oknation.nationtv.tv/blog/home/user_data/album_data/201504/30/53715/images/481818.jpg<br> http://oknation.nationtv.tv/blog/home/user_data/album_data/201504/30/53715/images/481824.jpg<br> http://oknation.nationtv.tv/blog/home/user_data/file_data/201507/01/14419a905.jpg<br> https://www.birdsofthailand.org/sites/default/files/photo/image_826.jpg<br> '''แหล่งที่มาของเนื้อหา''' <br> จากหนังสือนกในเมืองไทย ผู้เขียน รศ.โอภาส ขอบเขต <br>
กลับไป
นกบั้งรอกแดง
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
สถานที่ศึกษา
นกกก,นกกาฮัง
นกกระจิบคอดำ
นกกระจิบธรรมดา
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกะเต็นลาย
นกกะเต็นหัวดำ
นกกะเต็นอกขาว
นกกางเขนดง
นกกางเขนน้ำหลังแดง
นกกางเขนบ้าน
นกกาฝากก้นเหลือง
นกกาฝากท้องส้ม
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอแดง
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีม่วง
นกกินปลีท้ายทอยน้ำเงิน
นกกินแมลงคอดำ
นกกินแมลงคอลาย
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกกินแมลงปีกแดง
นกกินแมลงหัวสีน้ำตาล
นกกินแมลงอกเหลือง
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยปีกสีเรียบ
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกเขนน้อยปีกแถบขาว
นกเขาเขียว
นกเขาเปล้าธรรมดา
นกเขาใหญ่, นกเขาหลวง
นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า
นกเขียวก้านตองเล็ก
นกเขียวก้านตองใหญ่
นกเขียวคราม
นกคัคคูสีม่วง
นกเงือกกรามช้าง,นกกู๋กี๋
นกเงือกปากดำ,กาเขา
นกจอกป่าหัวโต
นกจับแมลงคอแดง
นกจับแมลงจุกดำ
นกจับแมลงตะโพกเหลือง
นกจับแมลงสีคล้ำ
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจับแมลงอกส้มท้องขาว
นกจาบคาคอสีฟ้า
นกจาบดินอกลาย
นกแซงแซวเล็กเหลือบ
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกตะขาบดง
นกตะขาบทุ่ง
นกไต่ไม้หน้าผากกำมะหยี่
นกบั้งรอกเขียวอกแดง
นกบั้งรอกแดง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดทอง
นกปรอดท้องสีเทา
นกปรอดเล็กท้องเทา
นกปรอดสวน
นกปรอดสีน้ำตาลตาขาว
นกปรอดสีน้ำตาลตาแดง
นกปรอดหงอนตาขาว
นกปรอดหลังเขียวอกลาย
นกปรอดหลังฟู
นกปรอดเหลืองหัวจุก
นกปรอดโอ่งท้องสีน้ำตาล
นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ
นกปรอดโอ่งไร้หงอน
นกปลีกล้วยเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองใหญ่
นกพญาปากกว้างเล็ก
นกโพระดกคางแดง
นกโพระดกเคราเหลือง
นกโพระดกหน้าผากดำ
นกมุ่นรกสีน้ำตาล
นกสีชมพูสวน
นกหกเล็กปากแดง,นกสี่สิบ
นกหว้า
นกหัวขวานแคระอกเทา
นกหัวขวานแดง
นกหัวขวานแดงลาย
นกหัวขวานป่าไผ่
นกหัวขวานสี่นิ้วหลังทอง
นกกะรางหัวหงอก
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
เหยี่ยวรุ้ง
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า