ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นกเขียวก้านตองเล็ก"
(สร้างหน้าด้วย "right '''วงศ์''' : Halcyonidae <br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Chloropsis cyanopogon''...") |
|||
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
[[ไฟล์:Lesser1.jpg|right]] | [[ไฟล์:Lesser1.jpg|right]] | ||
− | '''วงศ์''' : Halcyonidae <br> | + | '''วงศ์''':Halcyonidae <br> |
− | '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Chloropsis cyanopogon'' (Temminck) 1829.<br> | + | '''ชื่อวิทยาศาสตร์''':''Chloropsis cyanopogon'' (Temminck) 1829.<br> |
− | '''ชื่อสามัญ''' :Lesser Green Leafbird <br> | + | '''ชื่อสามัญ''':Lesser Green Leafbird <br> |
− | '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : Great Green Leafbird<br><br> | + | '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''':Great Green Leafbird<br><br> |
มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Chloropsis cyanopogoni'' ชื่อชนิดมาจากรากศัพท์ภาษากรีกคือ cyan, -e, -i, -o หรือ kuanos แปลว่าสีน้ำเงินเข้ม และ pogo, =n, -ni, -no แปลว่าเครา ความหมายคือ “บริเวณคางมีสีน้ำเงิน” พบครั้งแรกที่เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยมี 2 ชนิดย่อยคือ Chloropsis cyanopogon cyanopogon (Temminck) ที่มาและความหมายของชื่อชนิดย่อยเช่นเดียวกับชื่อชนิด Chloropsis cyanopogon septentrionalis Robinson and Kloss ชื่อชนิดย่อยมาจากรากศัพท์ภาษาละตินคือ septentrion, -al แปลว่าตอนเหนือ และ -alis เป็นคำลงท้าย แปลว่าเป็นของ ความหมาย คือ “นกที่พบทางตอนเหนือ” พบครั้งแรกที่จังหวัดกระบี่ ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของแหล่งที่พบนกต้นแบบ คือเกาะสุมาตรา | มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Chloropsis cyanopogoni'' ชื่อชนิดมาจากรากศัพท์ภาษากรีกคือ cyan, -e, -i, -o หรือ kuanos แปลว่าสีน้ำเงินเข้ม และ pogo, =n, -ni, -no แปลว่าเครา ความหมายคือ “บริเวณคางมีสีน้ำเงิน” พบครั้งแรกที่เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยมี 2 ชนิดย่อยคือ Chloropsis cyanopogon cyanopogon (Temminck) ที่มาและความหมายของชื่อชนิดย่อยเช่นเดียวกับชื่อชนิด Chloropsis cyanopogon septentrionalis Robinson and Kloss ชื่อชนิดย่อยมาจากรากศัพท์ภาษาละตินคือ septentrion, -al แปลว่าตอนเหนือ และ -alis เป็นคำลงท้าย แปลว่าเป็นของ ความหมาย คือ “นกที่พบทางตอนเหนือ” พบครั้งแรกที่จังหวัดกระบี่ ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของแหล่งที่พบนกต้นแบบ คือเกาะสุมาตรา | ||
แถว 20: | แถว 20: | ||
'''กฎหมาย''' : จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง | '''กฎหมาย''' : จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง | ||
+ | |||
+ | '''ลิงค์ข้อมูลเพิ่มเติม'''<br> | ||
+ | [[File:youtube01.png|left|https://www.youtube.com/watch?v=f_KQ4C_zZ_o//https:|link=//https://www.youtube.com/watch?v=f_KQ4C_zZ_o]] >>> [https://www.youtube.com/watch?v=f_KQ4C_zZ_o นกเขียวก้านตองเล็ก] <<< <br><br> | ||
---- | ---- | ||
<center>[[ไฟล์:Lesser2.jpg]] [[ไฟล์:Lesser3.jpg]] [[ไฟล์:Lesser4.jpg]]</center> | <center>[[ไฟล์:Lesser2.jpg]] [[ไฟล์:Lesser3.jpg]] [[ไฟล์:Lesser4.jpg]]</center> |
รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 22:32, 7 กุมภาพันธ์ 2563
วงศ์:Halcyonidae
ชื่อวิทยาศาสตร์:Chloropsis cyanopogon (Temminck) 1829.
ชื่อสามัญ:Lesser Green Leafbird
ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ:Great Green Leafbird
มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chloropsis cyanopogoni ชื่อชนิดมาจากรากศัพท์ภาษากรีกคือ cyan, -e, -i, -o หรือ kuanos แปลว่าสีน้ำเงินเข้ม และ pogo, =n, -ni, -no แปลว่าเครา ความหมายคือ “บริเวณคางมีสีน้ำเงิน” พบครั้งแรกที่เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยมี 2 ชนิดย่อยคือ Chloropsis cyanopogon cyanopogon (Temminck) ที่มาและความหมายของชื่อชนิดย่อยเช่นเดียวกับชื่อชนิด Chloropsis cyanopogon septentrionalis Robinson and Kloss ชื่อชนิดย่อยมาจากรากศัพท์ภาษาละตินคือ septentrion, -al แปลว่าตอนเหนือ และ -alis เป็นคำลงท้าย แปลว่าเป็นของ ความหมาย คือ “นกที่พบทางตอนเหนือ” พบครั้งแรกที่จังหวัดกระบี่ ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของแหล่งที่พบนกต้นแบบ คือเกาะสุมาตรา
กระจายพันธุ์ : ในพม่า ไทย มาเลเซีย เกาะสุมาตรา และเกาะบอร์เนียว
ลักษณะทั่วไป : เป็นนกขนาดเล็ก (18 ซม.) มีลักษณะคล้ายกับนกเขียวก้านตองใหญ่ แต่มีขนาดเล็กกว่า ปากเล็กกว่า ไม่มีสีน้ำเงินบริเวณช่วงไหล่ ตัวผู้แตกต่างจากนกเขียวก้านตองใหญ่ตัวผู้ตรงที่มีสีเหลืองบริเวณ หน้าผาก รอบใบหน้า และคอหอย ตัวเมียลักษณะ คล้ายนกเขียวก้านตองใหญ่ตัวเมีย แต่บริเวณคอหอย เป็นสีเขียวและไม่มีสีเหลืองบริเวณเบ้าตา
อุปนิสัยและอาหาร : อาศัยอยู่ตามป่าดงดิบชื้น และป่าชายเลน ตั้งแต่พื้นราบจนกระทั่งความสูง 900 เมตรจากระดับน้ำทะเล พบอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูงเล็ก ๆ หากินตามยอดไม้ในระดับที่ค่อนข้างสูง อาหารได้แก่ ผลไม้ น้ำหวานดอกไม้ แมลง ตัวหนอน และแมงมุม โดยมีพฤติกรรมการกินอาหารไม่แตกต่างจากนกเขียว ก้านตองอื่น ๆ
อุปนิสัยและอาหาร : อาศัยอยู่ตามป่าดงดิบชื้น และชายป่า ตั้งแต่พื้นราบจนกระทั่งความสูง 700 เมตร จากระดับน้ำทะเล พบอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูงเล็ก ๆ อาศัยและหากินตามยอดไม้ระดับสูง อาหาร ได้แก่ ผลไม้ น้ำหวานดอกไม้ แมลง และแมงมุม พฤติกรรม การกินอาหารไม่แตกต่างจากบกเขียาค้าบตองชนิดอื่น
การผสมพันธุ์ : ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนต่อต้น ฤดูฝนระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนมิถุนายน ชีววิทยา การสืบพันธุ์อื่นไม่แตกต่างจากนกเขียวก้านตองหน้า ผากสีทอง นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า และนกเขียวก้าน ตองอื่นในสกุลเดียวกันนี้
สถานภาพ : เป็นนกประจำถิ่น พบบ่อยและปริมาณปานกลาง ชนิดย่อย sententionalis พบทางภาคใต้ตั้งแต่คอคอดกระจนถึงจังหวัดตรังและพัทลุง ชนิดย่อย cyanopogon พบทางภาคใต้ตอนใต้สุด
กฎหมาย : จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง
ลิงค์ข้อมูลเพิ่มเติม
แหล่งที่มาของภาพ
https://live.staticflickr.com/2746/32733158151_f9672ea859_b.jpg
https://live.staticflickr.com/3834/9131471588_19ab996018_b.jpg
https://dktnfe.com/web59/wp-content/uploads/2014/09/lesser_green_leafbird_male_probably.jpg
https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/d/da/Lesser_Green_Leafbird_%28Female%29.jpg
แหล่งที่มาของเนื้อหา
จากหนังสือนกในเมืองไทย ผู้เขียน รศ.โอภาส ขอบเขต