ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะเดื่อกวาง"
จาก การจัดเก็บข้อมูลพรรณไม้ป่าภาคใต้ในอุทยานแห่งชาติแก่งกรุงอำเภอวิภาวดีจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ล (ล็อก "มะเดื่อกวาง" ([แก้ไข=อนุญาตเฉพาะผู้ดูแลระบบ] (ไม่มีกำหนด) [เปลี่ยนชื่อ=อนุญาตเฉพาะผู้ด...) |
|||
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 9: | แถว 9: | ||
พบกระจายทั่วไป ในป่าเบญจพรรณและป่าดิบใกล้ห้วยหรือลำธารที่ความสูงจากระดับน้ำทะเล ไม่เกิน 800 ม. | พบกระจายทั่วไป ในป่าเบญจพรรณและป่าดิบใกล้ห้วยหรือลำธารที่ความสูงจากระดับน้ำทะเล ไม่เกิน 800 ม. | ||
---- | ---- | ||
− | [[ไฟล์: | + | [[ไฟล์:Madue2.JPG|300px]][[ไฟล์:Madue3.JPG|300px]][[ไฟล์:madue5.jpg|300px]] |
---- | ---- | ||
'''แหล่งที่มาของภาพ'''<br> | '''แหล่งที่มาของภาพ'''<br> |
รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 13:05, 1 มีนาคม 2561
ชื่อไทย : มะเดื่อกวาง ลิ้นควาย ฆ้อง ตองหนัง ลิ้นกระบือ
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ficus callosa Willd.
ชื่อวงศ์ : MORACEAE
ไม้ต้นผลัดใบหรือกึ่งผลัดใบขนาดใหญ่สูงถึง 30 ม. เรือนยอดกลม ลำต้นเปลาตรงเมื่ออายุมากโคนต้นจะเป็นพูพอน เปลือกต้นเรียบ สีเทา
- ใบ เดี่ยว ขนาด 6-18 x 14-40 ซม. เรียงเวียนสลับใกล้ปลายกิ่ง มองเห็นเป็นกลุ่มๆใบรูปรีหรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ปลายใบมน โคนใบมนหรือเว้าตื้นๆ ขอบใบเรียบ ยอดอ่อนมีขนคล้ายไหม ด้านบนของใบสีเขียวอมเหลือง เป็นมัน ด้านล่างสีเขียวอ่อนหรือออกขาว มักจะมีขนหยาบประปราย เส้นใบย่อย มี 7-10 คู่ โค้งงอจรดกันที่ขอบใบ หูใบมีขนละเอียด
- ดอก ไม่ค่อยพบมากนัก แต่มีการติดดอกและผลได้ตลอดทั้งปี
- ผล สด รูปร่างกลม ออกเดี่ยวๆหรือเป็นคู่สีเขียวอมเหลือง รูปมนรีแคบ ก้านผลยาว 1-2 ซม.มีกาบรูปสามเหลี่ยมโค้งงอรองรับผลจะพบว่าออกได้ตลอดทั้งปี
พบกระจายทั่วไป ในป่าเบญจพรรณและป่าดิบใกล้ห้วยหรือลำธารที่ความสูงจากระดับน้ำทะเล ไม่เกิน 800 ม.
แหล่งที่มาของภาพ
http://www.dnp.go.th/flora/images/bb8d7b1f929c87990bf26dd5ae244a16.jpg
http://www.dnp.go.th/flora/images/004df72e468e86d049585f37c500420d.JPG
http://www.dnp.go.th/flora/images/4785c91c96c21eed9ac8891903b23c18.JPG
http://www.dnp.go.th/flora/images/362159852ed734f3dc2aa48485fd4503.jpg