ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะฮอกกานีใบใหญ่"

จาก การจัดเก็บข้อมูลพรรณไม้ป่าภาคใต้ในอุทยานแห่งชาติแก่งกรุงอำเภอวิภาวดีจังหวัดสุราษฎร์ธานี
(สร้างหน้าด้วย "'''ชื่อไทย :''' มะฮอกกานีใบใหญ่ <br>'''ชื่อวิทยาศาสตร์ :''' ''Swietenia macroph...")
 
แถว 1: แถว 1:
 +
[[ไฟล์:mahok.jpg|300px]]<br>
 
'''ชื่อไทย :''' มะฮอกกานีใบใหญ่
 
'''ชื่อไทย :''' มะฮอกกานีใบใหญ่
 
<br>'''ชื่อวิทยาศาสตร์ :''' ''Swietenia macrophylla King''
 
<br>'''ชื่อวิทยาศาสตร์ :''' ''Swietenia macrophylla King''
แถว 8: แถว 9:
 
*'''ผล''' กว้าง 5-7 ซม. ยาว 10-16 ซม. (ยาวประมาณ 2 เท่าของกว้าง) รูปไข่ถึงขอบนานหรือค่อนข่างรูปไข่กลับ ตั้งตรงบนก้านใหญ่แข็ง ยาวได้ถึง 5 ซม. หนาแข็ง แก่แตกออกจากทั้งสองด้านเป็น 5 ส่วน ทิ้งแกนกลางผลที่มี 5 มุม มีหลายเมล็ดซ้อนกัน ปลายด้านหนึ่งมีปีกใหญ่แบนบาง ยาว 6-9 ซม. (รวมปีก)
 
*'''ผล''' กว้าง 5-7 ซม. ยาว 10-16 ซม. (ยาวประมาณ 2 เท่าของกว้าง) รูปไข่ถึงขอบนานหรือค่อนข่างรูปไข่กลับ ตั้งตรงบนก้านใหญ่แข็ง ยาวได้ถึง 5 ซม. หนาแข็ง แก่แตกออกจากทั้งสองด้านเป็น 5 ส่วน ทิ้งแกนกลางผลที่มี 5 มุม มีหลายเมล็ดซ้อนกัน ปลายด้านหนึ่งมีปีกใหญ่แบนบาง ยาว 6-9 ซม. (รวมปีก)
 
พืชพื้นเมืองของอเมริกาใต้ นำเข้ามาปลูกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปี ค.ศ. 1885 ปลูกทั่วไปในภาคใต้
 
พืชพื้นเมืองของอเมริกาใต้ นำเข้ามาปลูกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปี ค.ศ. 1885 ปลูกทั่วไปในภาคใต้
 +
----
 +
[[ไฟล์:mahok2.jpg|300px]][[ไฟล์:mahok3.jpg|300px]]
 +
----
 +
http://www.biogang.net/upload_img/biodiversity/biodiversity-186912-1.jpg<br>
 +
https://www.samunpri.com/wp-content/uploads/2017/03/มะฮอกกานี1.jpg<br>
 +
https://www.samunpri.com/wp-content/uploads/2017/03/มะฮอกกานี2.jpg<br>

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 13:52, 1 มีนาคม 2561

Mahok.jpg
ชื่อไทย : มะฮอกกานีใบใหญ่
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Swietenia macrophylla King
ชื่อวงศ์ : MELIACEAE
ไม้ต้น ไม่ผลัดใบหรือผลัดใบช่วงสั้น สูงได้ถึง 30 ม. เรือนยอดแน่น ลำต้นตรง มีกิ่งใหญ่

  • เปลือก สีเทาเข้ม แตกเป็นแผ่นเมื่ออ่อน แตกเป็นร่องลึกเมื่อแก่ เปลือกในสีชมพูถึงน้ำตาลแดงเข้ม
  • ใบ ยาว 20-50 ซม. ใบประกอบแบบขนนกยอดคู่ ใบย่อย 3-6 คู่ออกตรงข้าม กว้าง 3.5-5 ซม. ยาว 9-15 ซม. (ใบบนใหญ่สุด) รูปใบหอกแกมรี ปลายเรียวแหลมโค้ง โคนเบี้ยว ขอบไม่จัก ใบแก่สีเขียวเข้มเป็นมันด้านบน เกลี้ยงทั้งสองด้าน ก้านช่อใบค่อนข้างป่องแต่ไม่มีรูหรือเป็นร่องที่โคน มีตายอดใหญ่ปกคลุมด้วยเกล็ดเป็นน้ำยาง
  • ดอก ยาว 0.8-1 ซม. สีเหลืองอ่อนหรือออกเขียว ดอกแยกเพศ (แต่มักเห็นเป็นดอกสมบูรณ์เพศ) ออกเป็นช่อกระจุกแตกแขนงแคบ ยาว 10-18 ซม. ตามซอกใบ แต่ละกลุ่มจะพบมีดอกตัวผู้ได้ถึง 10 ดอกล้อมรอบดอกตัวเมียอยู่ 1 ดอกเสมอ กลีบเลี้ยงยาว จัก 5 พู มีขนตามขอบ กลีบดอกแยก 5 กลีบ ยาวประมาณ 5 มม. รูปขอบขนาน ปลายทู่ บิดในตาดอก ดอกโตเต็มที่บานหรือโค้ง มีขนตามขอบ หลอดเกสรตัวผู้รูปคนโท อับเรณูมี 8-10 อัน ติดใต้ขอบหลอดสลับกับซี่ฟันรูปสามเหลี่ยม มักมีแต้มสีแดงขุ่น รังไข่ 5 ช่อง มียอดเกสรตัวเมียใหญ่คล้ายจาน
  • ผล กว้าง 5-7 ซม. ยาว 10-16 ซม. (ยาวประมาณ 2 เท่าของกว้าง) รูปไข่ถึงขอบนานหรือค่อนข่างรูปไข่กลับ ตั้งตรงบนก้านใหญ่แข็ง ยาวได้ถึง 5 ซม. หนาแข็ง แก่แตกออกจากทั้งสองด้านเป็น 5 ส่วน ทิ้งแกนกลางผลที่มี 5 มุม มีหลายเมล็ดซ้อนกัน ปลายด้านหนึ่งมีปีกใหญ่แบนบาง ยาว 6-9 ซม. (รวมปีก)

พืชพื้นเมืองของอเมริกาใต้ นำเข้ามาปลูกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปี ค.ศ. 1885 ปลูกทั่วไปในภาคใต้


Mahok2.jpgMahok3.jpg


http://www.biogang.net/upload_img/biodiversity/biodiversity-186912-1.jpg
https://www.samunpri.com/wp-content/uploads/2017/03/มะฮอกกานี1.jpg
https://www.samunpri.com/wp-content/uploads/2017/03/มะฮอกกานี2.jpg