ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยมหิน"

จาก การจัดเก็บข้อมูลพรรณไม้ป่าภาคใต้ในอุทยานแห่งชาติแก่งกรุงอำเภอวิภาวดีจังหวัดสุราษฎร์ธานี
(สร้างหน้าด้วย "'''ชื่อไทย :''' ยมหิน ฝักดาบ สะเดาช้าง เสียดค่าง <br>'''ชื่อวิทย...")
 
(ล็อก "ยมหิน" ([แก้ไข=อนุญาตเฉพาะผู้ดูแลระบบ] (ไม่มีกำหนด) [เปลี่ยนชื่อ=อนุญาตเฉพาะผู้ดูแลระบ...)
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 1: แถว 1:
 +
[[ไฟล์:yomhin.jpg|300px]]<br>
 
'''ชื่อไทย :''' ยมหิน ฝักดาบ สะเดาช้าง เสียดค่าง
 
'''ชื่อไทย :''' ยมหิน ฝักดาบ สะเดาช้าง เสียดค่าง
 
<br>'''ชื่อวิทยาศาสตร์ :''' ''Chukrasia tabularis A.Juss.''
 
<br>'''ชื่อวิทยาศาสตร์ :''' ''Chukrasia tabularis A.Juss.''
แถว 8: แถว 9:
 
*'''ผล''' ยาว 2.5-4.5 ซม. ออกเป็นช่อห้อย มีได้ถึง 6 ผล รูปไข่หรือรี ปลายสั้น สีเทาอมเหลือง มีขนละเอียดเมื่ออ่อน สีน้ำตาลเข้ม มีช่องอากาศจำนวนมากแก่ บางแข็ง แตก 3-5 เสี่ยงจากยอด เหลือแกนกลางผลเป็นมุม 5 มุม เมล็ดมีปีกอัดแน่นมากกว่า 50 เมล็ด ติดเป็นชั้นๆด้านข้าง
 
*'''ผล''' ยาว 2.5-4.5 ซม. ออกเป็นช่อห้อย มีได้ถึง 6 ผล รูปไข่หรือรี ปลายสั้น สีเทาอมเหลือง มีขนละเอียดเมื่ออ่อน สีน้ำตาลเข้ม มีช่องอากาศจำนวนมากแก่ บางแข็ง แตก 3-5 เสี่ยงจากยอด เหลือแกนกลางผลเป็นมุม 5 มุม เมล็ดมีปีกอัดแน่นมากกว่า 50 เมล็ด ติดเป็นชั้นๆด้านข้าง
 
พบทั่วไปในป่าดิบที่ต่ำหรือป่ากึ่งผลัดใบ สูงถึงประมาณ 900 ม. มักเป็นป่าที่รบกวนหรือตามชายป่า พบบนเขาหินปูน ต้นกล้าและไม้อ่อนมีใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น มีพูไม่เท่ากัน หรือขอบจักซี่ฟัน พืชที่ขึ้นในที่แล้ง จะมีขนมากกว่า กิ่งใหญ่ล่ำ ดอกเล็กกว่า ออกเป็นช่อแน่นกว่า แกนกลางช่อมีขนกำมะหยี่ ผลเล็กกว่า มียอดชัด
 
พบทั่วไปในป่าดิบที่ต่ำหรือป่ากึ่งผลัดใบ สูงถึงประมาณ 900 ม. มักเป็นป่าที่รบกวนหรือตามชายป่า พบบนเขาหินปูน ต้นกล้าและไม้อ่อนมีใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น มีพูไม่เท่ากัน หรือขอบจักซี่ฟัน พืชที่ขึ้นในที่แล้ง จะมีขนมากกว่า กิ่งใหญ่ล่ำ ดอกเล็กกว่า ออกเป็นช่อแน่นกว่า แกนกลางช่อมีขนกำมะหยี่ ผลเล็กกว่า มียอดชัด
 +
----
 +
[[ไฟล์:yomhin2.jpg|300px]][[ไฟล์:yomhin3.jpg|300px]][[ไฟล์:yomhin4.jpg|300px]]
 +
----
 +
https://www.technologychaoban.com/viewcrop3to2_newsimage.php?filename=technoAdm/images_techno/2014/05/1401173052.JPG&width=480&height=320<br>
 +
https://medthai.com/wp-content/uploads/2014/05/ดอกยมหิน.jpg<br>
 +
https://medthai.com/wp-content/uploads/2014/05/รูปดอกยมหิน.jpg<br>
 +
https://medthai.com/wp-content/uploads/2014/05/เมล็ดยมหิน.jpg

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 14:23, 1 มีนาคม 2561

Yomhin.jpg
ชื่อไทย : ยมหิน ฝักดาบ สะเดาช้าง เสียดค่าง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Chukrasia tabularis A.Juss.
ชื่อวงศ์ : MELIACEAE
ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูงได้ถึง 40 ม. ลำต้นกลม โคนเป็นร่องและมีพูพอน

  • เปลือก สีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่องลึกหรือเป็นแผ่นต่อๆกัน เปลือกในสีน้ำตาลแดงหรือสีชมพู
  • ใบ ยาวได้ถึง 35-60 ซม. หรือใบประกอบขนนกยอดคู่หรือยอดเดี่ยว ใบย่อย 6-10 คู่ ออกสลับหรือกึ่งตรงข้าม รูปไข่เบี้ยวถึงรูปขอบขนาน กว้าง 2.5-5 ซม. ยาวา 6-14 ซม. ใบล่างมีขนาดเล็กที่สุด ปลายเรียวแหลม โคนเบี้ยว ขอบค่อนข้างโค้ง ไม่เป็นพูและซี่ฟัน (ยกเว้นในต้นกล้า) ใบอ่อนมีขขนละเอียด ใบแก่คล้ายกระดาษหนัง เกลี้ยงหรือด้านล่างมีขนละเอียดบนเส้นใบ เส้นใบ 7-10 คู่ โค้งชันและแตกเป็นง่ามเล็กน้อยใกล้ขอบ ก้านใบย่อยยาว 2-6 มม. เล็กเรียวหรือไม่มี
  • ดอก ยาว 2.5-3 ซม. สีขาวอมเขียวอ่อนถึงสีเหลืองอ่อน มักมีแต้มสีแดงขุ่นด้านนอก กลิ่นหอม ดอกแยกเพศ ดอกตัวผู้และตัวเมียอยู่ต้นเดียว เป็นช่อแตกแขนงกว้าง ยาว 10-30 ซม. ที่ซอกใบหรือเหนือซอกใบเล็กน้อย บางทีดอกออกเป็นกลุ่มแน่นใกล้ปลายช่อ มองเห็นเป็นดอกออกที่ปลาย ก้านดอกยาวประมาณ 5 มม. เป็นข้อต่อที่ประมาณ 2/3 ของก้าน กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 3 มม. เป็นรูปถ้วยตื้น ขอบจักประมาณ 1/3 ของกลีบ เป็นพูทู่ 4-5 พู มีขนด้านนอก กลีบดอก4-5 กลีบ แยกกัน ยาว 12-16 มม. รูปขอบขนานแคบหรือเป็นสายเข็มขัด บิดในตาดอก โค้งไปด้านหลังเมื่อดอกแก่ มีขนกำมะหยี่ด้านนอก หลอดเกสรตัวผู้รูปทรงกระบอก ยาวประมาณ 10 มม. ค่อยๆแคบไปยังปลาย อับเรณู 10 อัน ติดบนขอบแบนหรือจักเป็นฟันตื้น รังไข่ 3-5 ช่อง ทงขวดแก้วก้นโป่ง ยาวกว่าก้านเกสรตัวเมีย มีขนกระจาย ล้อมรอบด้วยฐานดอกรูปหมอน (มักไม่ชัด)
  • ผล ยาว 2.5-4.5 ซม. ออกเป็นช่อห้อย มีได้ถึง 6 ผล รูปไข่หรือรี ปลายสั้น สีเทาอมเหลือง มีขนละเอียดเมื่ออ่อน สีน้ำตาลเข้ม มีช่องอากาศจำนวนมากแก่ บางแข็ง แตก 3-5 เสี่ยงจากยอด เหลือแกนกลางผลเป็นมุม 5 มุม เมล็ดมีปีกอัดแน่นมากกว่า 50 เมล็ด ติดเป็นชั้นๆด้านข้าง

พบทั่วไปในป่าดิบที่ต่ำหรือป่ากึ่งผลัดใบ สูงถึงประมาณ 900 ม. มักเป็นป่าที่รบกวนหรือตามชายป่า พบบนเขาหินปูน ต้นกล้าและไม้อ่อนมีใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น มีพูไม่เท่ากัน หรือขอบจักซี่ฟัน พืชที่ขึ้นในที่แล้ง จะมีขนมากกว่า กิ่งใหญ่ล่ำ ดอกเล็กกว่า ออกเป็นช่อแน่นกว่า แกนกลางช่อมีขนกำมะหยี่ ผลเล็กกว่า มียอดชัด


Yomhin2.jpgYomhin3.jpgYomhin4.jpg


https://www.technologychaoban.com/viewcrop3to2_newsimage.php?filename=technoAdm/images_techno/2014/05/1401173052.JPG&width=480&height=320
https://medthai.com/wp-content/uploads/2014/05/ดอกยมหิน.jpg
https://medthai.com/wp-content/uploads/2014/05/รูปดอกยมหิน.jpg
https://medthai.com/wp-content/uploads/2014/05/เมล็ดยมหิน.jpg