ดูโค้ดสำหรับ นกเอี้ยงหงอน
←
นกเอี้ยงหงอน
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
'''วงศ์''' : Acridotheres Vieillot <br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Acridotheres cinereus'' (Bonaparte), 1851<br> '''ชื่อสามัญ''' : White-vented Myna<br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : นกเอี้ยงดำ,Crested Myna<br><br> มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Acridotheres cinereus'' ชื่อชนิดมาจากรากศัพท์ภาษาละตินคือ ciner,-ar,-e,-I หรือ cinis แปลว่าสีเทา ความหมายคือ “นกที่มีสีเทา” พบครั้งแรกที่ประเทศมาเลเซีย Sibley and Moroe (1990) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ของนกเอี้ยงหงอนว่า Acridotheres grandis (Moore) 1858. ชื่อชนิดมาจากรากศัพท์ภาษาละตินคือ “นกที่มีขนาดใหญ่” พบครั้งแรกที่กรุงเทพมหานคร Lekagul and Round (1990) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Acridotheres javanicus ชื่อชนิดดัดแปลงจากชื่อสถานที่ที่พบครั้งแรก คือ เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย Inskipp et al. (1996) ถือว่าทั้ง 3 ชนิด คือ cinereus,grandis และ javanicus เป็นชนิดเดียวกัน และใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ที่ตั้งก่อนคือ cinereus ทั่วโลกมี 3 ชนิดย่อย ประทเทศไทยพบ 1 ชนิดย่อย คือ Acridotheres cinereus cinereus ที่มาและความหมายของชื่อชนิดย่อยเช่นเดียวกับชื่อชนิด '''กระจายพันธุ์''' : ในอินเดีย จีนตอนใต้ พม่า ไทย และอินโดจีน ในมาเลเซียเป็นนกที่นำเข้าไป '''ลักษณะทั่วไป''' : เป็นนกขนาดเล็ก (25 ซม.) สีสันโดยทั่วไปเป็นสีดำ หัวมีพุ่มหงอนขนยาว ขาและนิ้วสีเหลือง มีลายพาดสีขาวบริเวณโคนของขนปลายปีกซึ่งจะเห็นได้ชัดขณะบิน ปลายหางมีแถบขนาดกว้างสีขาว ขนคลุมโคนขนหางด้านล่างสีขาว ตาสีน้ำตาลจนถึงน้ำตาลแกมส้ม '''อุปนิสัยและอาหาร''' : อาศัยอยู่ตามทุ่งนา ทุ่งโล่งซึ่งใกล้กับแหล่งน้ำ สวนผลไม้ หมู่บ้าน และในเมืองมักพบอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูง อาจพบอยู่รวมกับนกเอี้ยงและนกกิ้งโครงอื่น ๆ โดยเฉพาะนกเอี้ยงสาลิกา นกเอี้ยงด่าง และนกกิ้งโครงคอดำ อุปนิสัยไม่แตกต่างจากนกเหล่านี้ '''การผสมพันธุ์''' : ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม ลักษณะของรังไม่แตกต่างจากนกเอี้ยงควาย โดยการนำฟางข้าว ใบไม้ ใบหญ้า กิ่งไม้เล็ก ๆ มาวางภายในโพรงไม้ ซึ่งมักเป็นโพรงเก่าของนกและสัตว์อื่น บางครั้งวางวัสดุตามกิ่งไม้คล้ายนกเอี้ยงสาลิกาและนกกิ้งโครงคอดำ แต่ไม่ค่อยพบที่วางรังตามซอกหลังคาบ้านหรือสิ่งก่อสร้างอย่างนกเอี้ยงสาลิกา รังมีไข่ 4-5 ฟอง '''ไข่''' : สีน้ำเงิน ขนาดของไข่โดยเฉลี่ย 20.7x29.2 มม. ชีววิทยาการสืบพันธุ์อื่นไม่แตกต่างจากนกเอี้ยงสาลิกาและนกกิ้งโครงทั่วไป รวมทั้งการวางไข่มากกว่า 1 รังในแต่ละปี '''สถานภาพ''' : เป็นนกประจำถิ่น พบบ่อยและปริมาณมากทั่วทุกภาค ในอดีตไม่พบทางภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ลงไป แต่ขณะนี้มีนกบางส่วนกำลังขยายถิ่นที่อาศัยไปยังภาคใต้เนื่องจากพื้นที่ป่าถูกทำลายลงจนเป็นที่โล่งมากขึ้น '''กฎหมาย''' : จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ----
กลับไป
นกเอี้ยงหงอน
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
นกกระจอกบ้าน
นกกระจิบหญ้าท้องเหลือง
นกกระติ๊ดขี้หมู
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกระติ๊ดสีอิฐ
นกกระสาแดง
นกกระสานวล
นกกวัก
นกกระเต็นแดง
นกกระเต็นน้อยธรรมดา
นกกระเต็นหัวดำ
นกกระเต็นใหญ่ธรรมดา
นกกระเต็นอกขาว
นกกะปูดเล็ก
นกกะปูดใหญ่
นกกางเขนบ้าน
นกกาน้ำเล็ก
นกกาฝากท้องสีส้ม
นกกาแวน
นกกาเหว่า
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีน้ำตาลแดง
นกกินปลีอกเหลือง
นกกินเปี้ยว
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกขมิ้นท้ายทอยดำ
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกเขาใหญ่
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจาบคาหัวเขียว
นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกตบยุงหางยาว
นกตะขาบทุ่ง
นกตีทอง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดสวน
นกปรอดสีไพลใหญ่
นกปรอดหน้านวล
นกปลีกล้วยเล็ก
นกเป็ดผีเล็ก
นกเปล้าคอสีม่วง
นกยางกรอกพันธุ์จีน
นกยางกรอกพันธุ์ชวา
นกยางเขียว
นกยางโทนใหญ่
นกยางเปีย
นกยางไฟธรรมดา
นกยางไฟหัวดำ
นกสีชมพูสวน
นกหนูแดง
นกหัวขวานเขียวคอเขียว
นกหัวขวานแดงลาย
นกหัวขวานสามนิ้วหลังทอง
นกหัวขวานสีตาล
นกอัญชันอกเทา
นกอีแพรดแถบอกดำ
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
นกเอี้ยงควาย
นกเอี้ยงดำปักษ์ใต้
นกเอี้ยงสาริกา
นกเอี้ยงหงอน
นกแอ่นกินรัง
นกแอ่นตาล
นกแอ่นบ้าน
เป็ดแดง
เหยี่ยวแดง
อีกา
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า