ดูโค้ดสำหรับ อีกา
←
อีกา
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
'''วงศ์''' : Corvus Linnaeus <br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Corvus macrorhynchos'' (Wagler),1827. <br> '''ชื่อสามัญ''' : Large-billed Crow <br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : กา , Jungle Crow <br> <br> มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Corvus macrorhynchos'' ชื่อชนิดมาจากรากศัพท์ภาษากรีก คือ macr,-o หรือ makros แปลว่าใหญ่หรือยาว และ rhynch,-o,=us หรือ rhunkhos แปลว่าปาก ความหมายคือ ”นกที่มีปากใหญ่” พบครั้งแรกที่เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซียทั่วโลกมี 14 ชนิดย่อย ประเทศไทยพบ 2 ชนิดย่อยคือ Corvus macrorhynchos macrorhynchos wagler ที่มาและความหมายของชื่อชนิดย่อยเช่นเดียวกับชื่อชนิด และ Corvus macrorhychos levaillantii Lesson ชื่อชนิดข่อยดัดแปลงจากชื่อของบุคคลพบครั้งแรกที่รัฐเบงกอล ประเทศอินเดีย '''กระจายพันธุ์''' : ในอิหร่านตะวันออก จนถึงจีนเอเชียตะวันออกเฉียวใต้ เกาะไหหลำ ไต้หวัน หมู่เกาะอันดามัน หมู่เกาะซุนดา และฟิลิปปินส์ '''ลักษณะทั่วไป''' : เป็นนกขนาดกลาง (51 ซม.) มีสีดำทั่วตัว จะมองเห็นเป็นมันเมื่อมีแสงจัด ปากใหญ่สันบนโค้งมาก '''อุปนิสัยและอาหาร''' : อาศัยอยู่ตามทุ่งโล่ง ในเมืองชายทะเล และป่าโปร่ง ตั้งแต่พื้นราบจนกระทั่งความสูง 1,000 เมตรจากระดับน้ำทะเล พบอยู่โดดเดี่ยว เป็นคู่ หรือเป็นฝูงเล็ก ๆ อาจพบเป็นฝูงใหญ่ในบางพื้นที่โดยเฉพาะบริเวณที่แหล่งอาหารอุดมสมบูรณ์ เป็นนกที่คุ้นเคยกันมากชนิดหนึ่งเพราะอาศัยและหากินใกล้บ้านเรือนคน นอกจากนี้สีสันและเสียงร้องที่เป็นแบบฉบับของตนเองก็ยิ่งทำให้คุ้นเคยกันมากยิ่งขึ้น อีกาเป็นนกที่ออกหากินตั้งแต่เช้าตรู่และกลับรังหรือแหล่งอาศัยช่วงเย็นค่ำ ปกติเป็นนักสะสมอาหาร โดยนำอาหารที่หาได้มาซ่อมตามหลืบโพรงของต้นไม้และสิ่งก่อสร้างบางครั้งขุดดินฝังไว้ และจะคอยเฝ้าไม่ให้นกหรือสัตว์อื่นมาแย่งหรือเข้าใกล้แหล่งที่ซ่อนอาหาร บางครั้งก็เข้าโจมตีเมื่อมีการลุกล้ำ ในขณะเดียวกันอีกาก็เป็นขโมยที่เก่งชนิดหนึ่งโดยเฉพาะจะขโมยไข่และลูกนกขณะที่แม่นกออกจากรัง หรือขโมยอาหารที่นกและสัตว์อื่นสะสมหรือซุกซ่อนเอาไว้ รวมทั้งอาหารของคน อีกากินทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นข้าวสุก ผลไม้ แมลง ตัวหนอน ไข่ ลูกนก กบ เขียด กิ้งก่า แย้ และซากสัตว์ อีกาเป็นนกที่มีสายตาที่ดีมากชนิดหนึ่ง บางครั้งมักจะเห็นซากสัตว์ก่อนสัตว์อื่น และจะเป็นตัวนำทำให้แร้งและสัตว์บางชนิดทราบตำแหน่งซากสัตว์ได้ '''การผสมพันธุ์''' : ผสมพันธุ์ในฤดูร้อนจนถึงฤดูฝนระหว่างเดือนกุมภาพันธุ์ถึงเดือนมิถุนายน ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่ท้องที่ ส่วนใหญ่อยู่ระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม รังเป็นแบบง่าย ๆ โดยใช้กิ่งไม้มาวางซ้อนกัน ทำตรงกลางให้เป็นแอ่งแล้วรองพื้นด้วยขนนก ปุยฝ้าย หรือวัสดุที่อ่อนนุ่ม รังมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 15-18 ซม. ลึก 10-14 ซม. ทำรังตามง่ามหรือกิ่งไม้ที่อยู่ในระดับสูงประมาณ 7-10 เมตร รังมีไข่ 3-5 ฟอง ไข่สีเขียวแกมน้ำเงิน มีลายขีดสีน้ำตาลขนาดของไข่โดยเฉลี่ย 28.1x38.0 มม. วางไข่ตอนเช้าตรู่ ทั้งสองเพศช่วยกันทำรัง ฟักไข่ และเลี้ยงดูลูกอ่อน จะเริ่มฟักเมื่อออกไข่ฟองสุดท้ายของรังแล้ว ใช้เวลาฟักไข่ 17-19 วัน ปกติ 18 วัน หลังออกจากไข่ประมาณ 1-4 สัปดาห์ลูกอ่อนจะมีขนขึ้นเต็มตัว บินได้ และทิ้งรังไปในที่สุด '''ไข่''' : อีกาเป็นนกที่ถูกนกกาเหว่าวางไข่และให้ฟักไข่แทนมากที่สุด โดยนกกาเหว่าตัวเมียจะวางไข่ในตอนสายหลังจากที่อีกาออกจากรังไปแล้ว ก่อนวางไข่นกกาเหว่าตัวเมียจะทำลายไข่ของอีกาทุกครั้ง ครั้งละ 1 ฟอง แล้ววางไข่ของมันแทน ปกตินกกาเหว่าจะวางไข่เพียง 1 ฟองในรังอีกาแต่ละรัง แต่อาจมีนกกาเหว่าตัวอื่นมาวางไข่ในรังอีกาในรังเดียวกันได้ลูกนกกาเหว่าที่อีกาฟักออกเป็นตัวแล้วมักทำลายไข่ของอีกาที่เหลืออยู่หรือลูกของอีกาเสมอ รังอีกาบางรังพบลูกนกกาเหว่าเพียง 1 ตัว และพ่อแม่อีกายังคงเลี้ยงดูอยู่ '''สถานภาพ''' : เป็นนกประจำถิ่น พบบ่อยและปริมาณปานกลาง ชนิดย่อย levaillantii พบทั่วทุกภาคและใต้สุดที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชนิดย่อย macrorhynchos พบทางภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ลงไป '''กฎหมาย''' :จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ----
กลับไป
อีกา
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
นกกระจอกบ้าน
นกกระจิบหญ้าท้องเหลือง
นกกระติ๊ดขี้หมู
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกระติ๊ดสีอิฐ
นกกระสาแดง
นกกระสานวล
นกกวัก
นกกระเต็นแดง
นกกระเต็นน้อยธรรมดา
นกกระเต็นหัวดำ
นกกระเต็นใหญ่ธรรมดา
นกกระเต็นอกขาว
นกกะปูดเล็ก
นกกะปูดใหญ่
นกกางเขนบ้าน
นกกาน้ำเล็ก
นกกาฝากท้องสีส้ม
นกกาแวน
นกกาเหว่า
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีน้ำตาลแดง
นกกินปลีอกเหลือง
นกกินเปี้ยว
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกขมิ้นท้ายทอยดำ
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกเขาใหญ่
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจาบคาหัวเขียว
นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกตบยุงหางยาว
นกตะขาบทุ่ง
นกตีทอง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดสวน
นกปรอดสีไพลใหญ่
นกปรอดหน้านวล
นกปลีกล้วยเล็ก
นกเป็ดผีเล็ก
นกเปล้าคอสีม่วง
นกยางกรอกพันธุ์จีน
นกยางกรอกพันธุ์ชวา
นกยางเขียว
นกยางโทนใหญ่
นกยางเปีย
นกยางไฟธรรมดา
นกยางไฟหัวดำ
นกสีชมพูสวน
นกหนูแดง
นกหัวขวานเขียวคอเขียว
นกหัวขวานแดงลาย
นกหัวขวานสามนิ้วหลังทอง
นกหัวขวานสีตาล
นกอัญชันอกเทา
นกอีแพรดแถบอกดำ
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
นกเอี้ยงควาย
นกเอี้ยงดำปักษ์ใต้
นกเอี้ยงสาริกา
นกเอี้ยงหงอน
นกแอ่นกินรัง
นกแอ่นตาล
นกแอ่นบ้าน
เป็ดแดง
เหยี่ยวแดง
อีกา
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า