ดูโค้ดสำหรับ นกปรอดคอลาย
←
นกปรอดคอลาย
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
'''วงศ์''' : Pycnonotidae <br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Pyenonotus finlaysoni'' (Strickland), 1844.<br> '''ชื่อสามัญ''' : Stripe-throated bulbul<br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : - <br><br> มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Pycnonotus finlaysoni'' ชื่อชนิดมาจากชื่อบุคคลคือ George Finlayson (ค.ศ.1790-1823) นักธรรมชาติวิทยาและศัลยแพทย์ชาวสกอตแลนด์ พบครั้งแรกที่ประเทศมาเลเซีย ทั่วโลกมี 3 ชนิดย่อย ประเทศได้พบ 2 ชนิดย่อย คือ Pycnonotus finlaysoni finlaysoni Strickland ที่มาของชื่อชนิดย่อยเช่นเดียวกับชนิด และ Pycnonotus finlaysoni eous Riley ชื่อชนิดย่อยอาจมาจากรากศัพท์ภาษากรีกคือ eos แปลว่าเช้าตรู่หรือทิศตะวันออก ความหมายคือ "นกที่พบทางด้านทิศตะวันออก" พบครั้งแรกที่ประเทศเวียดนาม ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกของสถานที่พบนกต้นแบบ '''กระจายพันธุ์''' : ในจีนด้านตะวันตกเฉียงใต้และเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ '''ลักษณะทั่วไป''' : เป็นนกขนาดเล็ก (19 ซม.) แตกต่างจากนกปรอดอื่นตรงที่มีลายขีดสีเหลืองกระจายบริเวณหน้าผาก ใบหน้า และคอหอย ลำตัวด้านบนสีเขียวแกมน้ำตาล ท้องตอนหน้าสีขาวแกมสีเทา ท้องทางด้านท้ายและขนคลุมโคนขนหางด้านล่างสีเหลือง '''อุปนิสัยและอาหาร''' : พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบชื้น ป่าดงดิบแล้ง ป่ารุ่น ป่าโล่ง ตั้งแต่พื้นราบจรกระทั่งความสูง 900 เมตรจากระดับน้ำทะเล มักพบอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูงเล็ก ๆ พบเป็นประจำบริเวณไม้พุ่ม ไม้พื้นล่าง หรือลูกไม้ บางครั้งพบตามยอดไม้ที่ค่อนข้างสูง อาหารได้แก่ ผลไม้ เมล็ดของไม้ต้น ตัวหนอน และแมลง พฤติกรรมกินอาหารไม่แตกต่างจากนกปรอดอื่น '''การผสมพันธุ์''' : ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนต่อฤดูฝน ส่วนใหญ่ทำรังตามพุ่มไม้ กิ่งของต้นไม้ใหญ่ หรือเถาวัลย์ ซึ่งสูงจากพื้นดินไม่มากนัก ราว 0.6-4.5 เมตร ไกรรัตน์ (2539) ศึกษารังของนกปรอดคอลายในป่าดงดิบแล้ง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี พบว่า รังเป็นรูปถ้วย มีเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 8.00 ภายนอก 9.15 ซม. รังประกอบด้วยกิ่งไม้เล็ก ๆ เส้นกลางของใบไม้และใบหญ้า นำมาสานหรือขัดกันหยาบ ๆ สามารถมองทะลุพื้นรังได้ แล้วเชื่อมวัสดุให้ติดกันด้วยใยแมงมุมโดยเฉพาะบริเวณขอบรัง ทำแอ่งตรงกลาง จากนั้นรองรังด้วยรากไม้หรือเถาวัลย์ที่ละเอียด รังมีไข่ 2 ฟอง '''ไข่''' : สีครีม มีลายสีออกแดงและสีเทา ขนาดของไข่โดยเฉลี่ย 20.8x15.7 มม. ทั้งสองเพศช่วยกันทำรัง ฟักไข่ และเลี้ยงดูลูกอ่อน เริ่มฟักตั้งแต่วางไข่ฟองแรก ใช้ระยะเวลาฟักไข่ 13-14 วัน ลูกนกอายุ 12-13 วันจะบินได้และทิ้งรังไป '''สถานภาพ''' : เป็นนกประจำถิ่น พบบ่อยและปริมาณปานลาง ชนิดย่อย eous พบทางภาคเหนือด้านตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคตะวันตก ชนิดย่อย finlaysoni พบทางภาคใต้ตั้งแต่คอคอดกระลงไป '''กฎหมาย''' : จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ----
กลับไป
นกปรอดคอลาย
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
นกกระจอกบ้าน
นกกระจิบหญ้าท้องเหลือง
นกกระติ๊ดขี้หมู
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกระติ๊ดสีอิฐ
นกกระสาแดง
นกกระสานวล
นกกวัก
นกกระเต็นแดง
นกกระเต็นน้อยธรรมดา
นกกระเต็นหัวดำ
นกกระเต็นใหญ่ธรรมดา
นกกระเต็นอกขาว
นกกะปูดเล็ก
นกกะปูดใหญ่
นกกางเขนบ้าน
นกกาน้ำเล็ก
นกกาฝากท้องสีส้ม
นกกาแวน
นกกาเหว่า
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีน้ำตาลแดง
นกกินปลีอกเหลือง
นกกินเปี้ยว
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกขมิ้นท้ายทอยดำ
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกเขาใหญ่
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจาบคาหัวเขียว
นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกตบยุงหางยาว
นกตะขาบทุ่ง
นกตีทอง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดสวน
นกปรอดสีไพลใหญ่
นกปรอดหน้านวล
นกปลีกล้วยเล็ก
นกเป็ดผีเล็ก
นกเปล้าคอสีม่วง
นกยางกรอกพันธุ์จีน
นกยางกรอกพันธุ์ชวา
นกยางเขียว
นกยางโทนใหญ่
นกยางเปีย
นกยางไฟธรรมดา
นกยางไฟหัวดำ
นกสีชมพูสวน
นกหนูแดง
นกหัวขวานเขียวคอเขียว
นกหัวขวานแดงลาย
นกหัวขวานสามนิ้วหลังทอง
นกหัวขวานสีตาล
นกอัญชันอกเทา
นกอีแพรดแถบอกดำ
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
นกเอี้ยงควาย
นกเอี้ยงดำปักษ์ใต้
นกเอี้ยงสาริกา
นกเอี้ยงหงอน
นกแอ่นกินรัง
นกแอ่นตาล
นกแอ่นบ้าน
เป็ดแดง
เหยี่ยวแดง
อีกา
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า