ดูโค้ดสำหรับ นกแอ่นกินรัง
←
นกแอ่นกินรัง
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
'''วงศ์''' : Apodidae <br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Collocalia fuciphaga'' (Gmelin) 1789. <br> '''ชื่อสามัญ''' : Edible-nest swiftlet <br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : Grey-rumped swiftlet , White-nest swiftlet <br> <br> นกแอ่นกินรังมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Collocalia fuuciphaga'' ชื่อชนิดมาจาก fuc, -i, -us เป็นรากศัพท์ภาษาละติน แปลว่าสาหร่ายทะเลหรือสีแดง (รากศัพท์ภาษาละติน) แปลว่าสาหร่ายทะเลหรือสีแดง (รากศัพท์ภาษากรีกคือ phukos ก็มีความหมายเหมือนกัน) และ phag, =e, -o หรือ phagos เป็นรากศัพท์ภาษากรีก แปลว่ากิน ความหมายคือ “นกที่กินสาหร่ายทะเลเป็นอาหาร” ชึ่งเป็นการเข้าใจผิด เพราะนกชนิดนี้ไม่กินพืชเป็นอาหาร เพียงแต่หากินอยู่เหนือน้ำทะเลและอาจลงกินน้ำเป็นครั้งคราวแต่ไม่ได้กินสาหร่ายทะเลแต่อย่างใด '''กระจายพันธุ์''' : ในพม่า ไทย มาเลเซีย เวียดนามตอนใต้ หมู่เกาะอันดามัน หมู่เกาะนิโคบาร์ หมู่เกาะซุนดา เกาะปาลาวัน และฟิลิปปินส์ '''ลักษณะทั่วไป''' : เป็นนกขนาดเล็กมาก (12-13 ซม.) ดูเผิน ๆ เป็นสีดำ โดยลำตัวด้านบนสีน้ำตาลแกมดำ ตะโพกสีเข้มจนเห็นเป็นสีดำ ลำตัวด้านล่างเป็นสีน้ำตาล ปกติเมื่อดูในธรรมชาติแทบจะไม่แตกต่างจากนกแอ่นพันธุ์หิมาลัยและนกแอ่นหางสี่เหลี่ยม จะแตกต่างกันตรงที่นกแอ่นกินรังมีขนาดเล็กกว่า ปีกสั้นกว่ากระพือปีกได้เร็วกว่า แข้งไม่มีขนหรือมีเพียงเล็กน้อยปลายหางเว้าตื้น หรือเป็นแฉกลึกประมาณร้อยลุ 10-19 ของความยาวของหาง ปีกยาว 11.0-12.5 ซม. '''อุปนิสัยและอาหาร''' : อาศัยอยู่ตามเกาะกลางทะเลชายฝั่งทะเล และในเมืองที่ใกล้กับแม่น้ำ มีกิจกรรมและหากินในเวลากลางวัน ส่วนในเวลากลางคืนจะเกาะอยู่เป็นกลุ่มใหญ่ตามรัง ผนังถ้ำ หรือสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เช่น โบสถ์ บ้านเรือน เป็นต้น ในช่วงเช้าจะบินออกจากแหล่งอาศัย ไปหากินรังเป็นนกที่กระพือปีกบินสลับร่อนตลอดทั้งวันโดยไม่มีการหยุด ยกเว้นในช่วงมีลูกอ่อนที่มันจะนำอาหารมาป้อนลูกที่รังเป็นครั้งคราว แม้กระทั่งเวลาผสมพันธุ์ก็เชื่อกันว่ามันทำขณะที่ร่อนอยู่กลางอากาศในช่วงที่มีฝนตกมันจะไม่บินออกไปหากิน แต่จะรอจนกระทั่งฝนหยุดหรือซาลงแล้วจึงบินออกหากินตามปกติช่วงเย็นมันจะบินกลับแหล่งที่อยู่อาศัย ในที่บางแห่งเช่น ถ้ำที่ค่อนข้างมืด มันสามารถบินได้ดีโดยไม่ชนสิ่งกีดขวางใด ๆ ทั้งนี้เพราะมันจะส่งเสียงร้องออกไปแล้วฟังเสียงสะท้อนกลับ ทำให้รู้ว่ามีสิ่งใดขวางทางหรือไม่ นกแอ่งกินรังกินแมลงขนาดเล็กเป็นอาหารโดยบินโฉบจับด้วยปากกลางอากาศ มันมีพฤติกรรมการกินน้ำโดยบินเหนือระดับน้ำเล็กน้อย จากนั้นจะโฉบลงกินน้ำครั้งแล้วครั้งเล่าจนกระทั่งอิ่ม '''การผสมพันธุ์''' : นกแอ่นกินรังผสมพันธุ์เกือบตลอดทั้งปี แต่จะพบมากที่สุดในช่วงที่ฝนตกน้อยที่สุดในรอบปี รังเป็นรูปถ้วยครึ่งซีก ขนาดยาวตามขอบบนเฉลี่ย 13.3 ซม. และลึกเฉลี่ย 5.1 ซม. ทำรังตามผนังถ้ำ หรือสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เช่น โบสถ์อาหารบ้านเรือน รังสร้างจากสิ่งที่สกัดออกมาจากต่อมน้ำลายโดยไม่มีวัสดุใด ๆ ปน นกจะสร้างรังเฉพาะในเวลากลางคืน ใช้ระยะเวลาสร้างรังทั้งสิ้น 30-35 วันรังของนกแอ่นกินรังเป็นที่นิยมใช้เป็นอาหารโดยเฉพาะชาวจีน ไต้หวัน แลฮ่องกง โดยเชื่อกันว่าเป็นยาชูกำลังอย่างดีเลิศ อย่างไรก็ตามจากการวิเคราะห์คุณค่าทางอาหารของนกแอ่นกินรังโดยนิสา (2528) พบว่ารังนกน้ำหนัก 100 กรัม มีโปรตีนร้อยละ 54.0 คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 23.3 น้ำร้อยละ 16.8 ไขมันร้อยละ 0.3 และอื่น ๆ เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัสร้อยละ 5.6 นกแอ่นกินรังมีพฤติกรรมการสร้างรังทดแทน (re-nest) คือมันจะสร้างรังใหม่ขึ้นทดแทนรังที่ถูกทำลายรังแรกจะมีสีขาวหรือขาวมอ แต่รังต่อ ๆ ไปจะมีสีแดงของเลือดผสมด้วย รังที่ 2 ใช้เวลาสร้าง 20-25 วัน และถ้าถูกทำลายอีกจะสร้างรังที่ 3 โดยใช้เวลา 15-17 วัน ปกติมันจะสร้างเพียง 3 รังเท่านั้นแม้รังจะถูกทำลายไปอีกและมันยังไม่ได้วางไข่ก็ตามแต่บางตัวก็สร้างรังที่ 4 และ 5 การเก็บรังนกแอ่นกินรังในประเทศไทย มักเก็บรังแรกหลังจากที่นกวางไข่ ลูกนกฟักเป็นตัว และทิ้งรังไปแล้ว ไม่นิยมเก็บรับนกก่อนที่นกวางไข่เพื่อให้นกสร้างรังที่ 2 ทดแทน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะรังที่ 2 มีสีออกแดง ราคาไม่ดีเท่ากับรังแรกหรือเป็นเพราะไม่ต้องการรบกวนนกมากนัก หากรบกวนมากและนกหนีไป รายได้จากการเก็บรังนกก็จะน้อยลง ไม่คุ้มกับการได้รับสัมปทานเก็บรังนกรังนกซื้อขายกันประมาณกิโลกรัมละ 8,500 บาท ทั้งนี้รังนกจำนวน 80-85 รังจึงนะได้น้ำหนักประมาณ 1 กิโลกรัม '''ไข่''' : ของนกแอ่นกินรังเป็นรูปยาวรี ปลายทั้งสองข้างเรียว มีขนาดเฉลี่ย 12.4x19.6 มม. เปลือกไข่มีผิวเรียบและบาง ไข่สีขาว รังมีไข่ 2 ฟอง ทั้งสองเพศช่วยกันสร้างรังและฟักไข่ โดยฟักเฉพาะในช่วงกลางคืน ใช้เวลาฟักไข่ทั้งสิ้น 22-25 วัน ลูกนกแรกเกิดยังไม่ลืมตาและไม่มีขนปกคลุมลำตัว ในช่วงกลางวันพ่อแม่นกจะช่วยกันดูแลและหาอาหารมาป้อนส่วนช่วงกลางคืนจะช่วยกันกกให้ความอบอุ่น ประมาณ 5-6 สัปดาห์ลูกนกจะบินได้แข็งแรง จากนั้นจะทิ้งรัง '''สถานภาพ''' : นกแอ่นกินรังเป็นนกประจำถิ่นพบบ่อยแลปริมาณปานกลางตามเกาะทางภาคใต้และชายฝั่งทะเลทั่วไปทั้งฝั่งอ่าวไทยและฝั่งทะเลอันดามันนอกจากนี้ยังมีรายงานพบบริเวณกรุงเทพมหานครด้วย '''กฎหมาย''' : จัดนกแอ่นกินรังเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ----
กลับไป
นกแอ่นกินรัง
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
นกกระจอกบ้าน
นกกระจิบหญ้าท้องเหลือง
นกกระติ๊ดขี้หมู
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกระติ๊ดสีอิฐ
นกกระสาแดง
นกกระสานวล
นกกวัก
นกกระเต็นแดง
นกกระเต็นน้อยธรรมดา
นกกระเต็นหัวดำ
นกกระเต็นใหญ่ธรรมดา
นกกระเต็นอกขาว
นกกะปูดเล็ก
นกกะปูดใหญ่
นกกางเขนบ้าน
นกกาน้ำเล็ก
นกกาฝากท้องสีส้ม
นกกาแวน
นกกาเหว่า
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีน้ำตาลแดง
นกกินปลีอกเหลือง
นกกินเปี้ยว
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกขมิ้นท้ายทอยดำ
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกเขาใหญ่
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจาบคาหัวเขียว
นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกตบยุงหางยาว
นกตะขาบทุ่ง
นกตีทอง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดสวน
นกปรอดสีไพลใหญ่
นกปรอดหน้านวล
นกปลีกล้วยเล็ก
นกเป็ดผีเล็ก
นกเปล้าคอสีม่วง
นกยางกรอกพันธุ์จีน
นกยางกรอกพันธุ์ชวา
นกยางเขียว
นกยางโทนใหญ่
นกยางเปีย
นกยางไฟธรรมดา
นกยางไฟหัวดำ
นกสีชมพูสวน
นกหนูแดง
นกหัวขวานเขียวคอเขียว
นกหัวขวานแดงลาย
นกหัวขวานสามนิ้วหลังทอง
นกหัวขวานสีตาล
นกอัญชันอกเทา
นกอีแพรดแถบอกดำ
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
นกเอี้ยงควาย
นกเอี้ยงดำปักษ์ใต้
นกเอี้ยงสาริกา
นกเอี้ยงหงอน
นกแอ่นกินรัง
นกแอ่นตาล
นกแอ่นบ้าน
เป็ดแดง
เหยี่ยวแดง
อีกา
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า