ดูโค้ดสำหรับ นกกระเต็นแดง
←
นกกระเต็นแดง
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
'''วงศ์''' : Halcyonidae<br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Halcyon coromanda'' (Latham) 1790.<br> '''ชื่อสามัญ''' : Ruddy kingfisher<br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : นกกระเต็นแดง , Indian ruddy kingfisher<br><br> นกกระเต็นแดงมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Halcyon coromanda'' ชื่อชนิดดัดแปลงจากชื่อสถานที่ที่พบครั้งแรก คือชายฝั่งทะเล Coromandel ในประเทศอินเดีย ทั่วโลกมีนกกระเต็นแดง 8 ชนิดย่อย ประเทศไทยพบ 1 ชนิดย่อยคือ ''Halcyon coromanda'' (Latham) ชื่อชนิดย่อยมีที่มาเช่นเดียวกับชื่อชนิด '''กระจายพันธุ์''' : ในอินเดีย จีนด้านตะวันออก ไต้หวัน ญี่ปุ่น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้หมู่เกาะอันดามัน หมู่เกาะซุนดาใหญ่ เกาะสุลาเวซีและฟิลิปปินส์ '''ลักษณะทั่วไป''' : เป็นนกขนาดเล็ก (24-25 ซม.) ปากสีแดง ลำตัวด้านบน หัว คอ แลช่วงไหล่สีน้ำตาลเหลืองแกมม่วงแดง ตะโพกสีขาว ขณะบินจะเห็นชัดเจน ลำตัวด้านล่างสีเนื้อถึงน้ำตาลอมเหลือง บริเวณคางและคอหอยสีจางกว่าลำตัวด้านล่างเล็กน้อย ขาและนิ้วสีแดงสด ตัวผู้และตัวเมียมีสีสันเหมือนกัน '''อุปนิสัยและอาหาร''' : อาศัยอยู่ตามป่าชายเลน ป่าบนเกาะในทะเล บางครั้งพบตามริมฝั่งแม่น้ำซึ่งห่างไกลจากทะเล รวมทั้งในป่าทั่วไปและป่ารุ่น ตั้งแต่ระดับพื้นราบจนกระทั้งความสูง 900 เมตรจากระดับน้ำทะเลพบอยู่โดดเดี่ยวหรือเป็นคู่ ปกติไม่ค่อยเกาะนิ่ง มักบินไปมาอย่างรวดเร็ว มันมักเกาะตามกิ่งไม้ที่มีใบแน่นทึบ จึงไม่ค่อยเห็นตัวนอกจากจะได้ยินเสียงร้อง อาหารได้แก่ ปลา ปู ด้วงปีกแข็ง ตั๊กแตน แมลงและสัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ มันมีพฤติกรรมการหารอาหารคล้ายคลึงกับนกกระเต็นชนิดอื่น คือเกาะตามกิ่งไม้จ้องหาเหยื่อทั้งในน้ำและบนอากาศ เมื่อพบเหยื่อ มันจะบินโฉบจับด้วยปาก จากนั้นมันจะบินมาเกาะที่เดิมหรือบริเวณใกล้เคียง อาจฟาดเหยื่อกับกิ่งไม้ 2-3 ครั้งเพื่อให้เหยื่อตาย แล้วกลืนเหยื่อทั้งตัว '''การผสมพันธุ์''' : นกกระเต็นแดงผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม ทำรังโดยขุดดินตามริมฝั่งแม่น้ำหรือเนินดินตามชายหาดปากโพรงกว้างประมาณ 5.0 ซม โพรงลึกประมาณ 45-100 ซม. ด้านในสุดเป็นโพรงกว้างสำหรับวางไข่บางคู่ทำรังตามโพรงต้นไม้ในป่า โพรงอาจเกิดเองตามธรรมชาติหรือเป็นโพรงที่สัตว์อื่นทำไว้ '''ไข่''' : มีรูปร่างค่อนข้างกลม สีขาว มีขนาดเฉลี่ย 23.2x27.3 มม. รังมีไข่ 5 ฟอง บางรังพบ 6 ฟอง ทั้งสองเพศช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกอ่อน ลูกนกแรกเกิดยังไม่ลืมตาและไม่มีขนปกคลุมลำตัว พ่อแม่ต้องช่วยกันหาอาหารมาป้อน เมื่อลูกนกแข็งแรงและบินได้ดีแล้ว พวกมันจะทิ้งรังไปหากินตามลำพัง '''สถานภาพ''' : นกกระเต็นแดงที่พบตามป่าชายเลนและป่าบนเกาะในทะเลมักเป็นนกประจำถิ่น นอกจากนั้นอาจเป็นนกอพยพผ่านหรือนกอพยพมายังประเทศไทยช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ พบไม่บ่อยและปริมาณไม่มากนักทั่วทุกภาค '''กฎหมาย''' : จัดนกกระเต็นแดงเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ----
กลับไป
นกกระเต็นแดง
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
นกกระจอกบ้าน
นกกระจิบหญ้าท้องเหลือง
นกกระติ๊ดขี้หมู
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกระติ๊ดสีอิฐ
นกกระสาแดง
นกกระสานวล
นกกวัก
นกกระเต็นแดง
นกกระเต็นน้อยธรรมดา
นกกระเต็นหัวดำ
นกกระเต็นใหญ่ธรรมดา
นกกระเต็นอกขาว
นกกะปูดเล็ก
นกกะปูดใหญ่
นกกางเขนบ้าน
นกกาน้ำเล็ก
นกกาฝากท้องสีส้ม
นกกาแวน
นกกาเหว่า
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีน้ำตาลแดง
นกกินปลีอกเหลือง
นกกินเปี้ยว
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกขมิ้นท้ายทอยดำ
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกเขาใหญ่
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจาบคาหัวเขียว
นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกตบยุงหางยาว
นกตะขาบทุ่ง
นกตีทอง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดสวน
นกปรอดสีไพลใหญ่
นกปรอดหน้านวล
นกปลีกล้วยเล็ก
นกเป็ดผีเล็ก
นกเปล้าคอสีม่วง
นกยางกรอกพันธุ์จีน
นกยางกรอกพันธุ์ชวา
นกยางเขียว
นกยางโทนใหญ่
นกยางเปีย
นกยางไฟธรรมดา
นกยางไฟหัวดำ
นกสีชมพูสวน
นกหนูแดง
นกหัวขวานเขียวคอเขียว
นกหัวขวานแดงลาย
นกหัวขวานสามนิ้วหลังทอง
นกหัวขวานสีตาล
นกอัญชันอกเทา
นกอีแพรดแถบอกดำ
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
นกเอี้ยงควาย
นกเอี้ยงดำปักษ์ใต้
นกเอี้ยงสาริกา
นกเอี้ยงหงอน
นกแอ่นกินรัง
นกแอ่นตาล
นกแอ่นบ้าน
เป็ดแดง
เหยี่ยวแดง
อีกา
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า