ดูโค้ดสำหรับ นกแซวสวรรค์
←
นกแซวสวรรค์
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
'''วงศ์''' : Dicrurinae <br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Terpsiphone paradise'' (Linnaeus) 1758.<br> '''ชื่อสามัญ''' : Asian paradise-flycatcher<br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : Paradise flycatcher<br><br> มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Terpsiphone paradise'' ชื่อชนิดมาจากรากศัพท์ภาษากรีกคือ paradis แปลว่าสวน หรือที่พักผ่อนหย่อนใจ หรือสวรรค์ อาจหมายถึง “นกที่มีความสวยงาม” พบครั้งแรกที่ประเทศศรีลังกาทั่วโลกมี 18 ชนิดย่อย ประเทศไทยพบ 3 ชนิดย่อย คือ #Terpsiphone paradise incei (Gould) ชื่อชนิดย่อยดัดแปลงจากชื่อของบุคคล พบครั้งแรกที่ประเทศจีน #Terpsiphone paradise saturatior (Salomonsen) ชื่อชนิดย่อยมาจากคำในภาษาละตินคือ saturates แปลว่ามีหลายสี ความหมายคือ “นกที่มีหลายสี” พบครั้งแรกที่ประเทศอินเดีย และ #Terpsiphone paradise indochinensis (Salomonsen) ชื่อชนิดย่อยดัดแปลงจากชื่อสถานที่คืออินโดจีน พบครั้งแรกที่ประเทศกัมพูชา '''กระจายพันธุ์''' : ในตุรกี อัฟกานิสถาน แมนจูเรีย จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หมู่เกาะอันดามัน หมู่เกาะนิโคบาร์ และหมู่เกาะซุนดาใหญ่ '''ลักษณะทั่วไป''' : เป็นนกขนาดเล็ก (21 ซม) ตัวผู้ขนหางคู่กลางยื่นยาวออกไปมากว่า 25 ซม. ตัวเต็มวัยปากและวงรอบเบ้าตาสีน้ำเงินสด ตัวผู้มีภาวะรูปร่างสองแบบ คือสีขาวและสีน้ำตาลแดง ตัวผู้ที่มีสีขาว สีส่วนใหญ่เป็นสีขาว บริเวณหัว พุ่มหงอนขน และคอหอยมีสีดำเป็นมัน ขนปลายปีกและก้านขนปีกสีดำตัวผู้ที่เป็นสีน้ำตาลแดงมีกระหม่อมสีดำ หัวและอกด้านบนสีเทาเข้ม ลำตัวด้านบน ปีก และหางสีน้ำตาลแดงตัวเมียมีลักษณะคล้ายนกตัวผู้ชนิดขนสีน้ำตาลแดงแต่ขนหางคู่กลางไม่ยื่นยาวออก ตัวผู้ที่เป็นสีน้ำตาลแดงขณะผลัดขนหางคู่กลางออกจะคล้ายนกตัวเมีย นกแซวสวรรค์แต่ละชนิดย่อยอาจมีลักษณะที่แตกต่างกันโดยบริเวณหัว คอหอย หรือกระหม่อมจะมีสีน้ำเงินหรือดำเป็นมัน คอหอยและด้านข้างของหัวสีเทา ตัวผู้ลำตัวด้านบนสีน้ำตาลแดง มักมีลายแซมสีแดงเข้ม '''อุปนิสัยและอาหาร''' : อาศัยอยู่ตามป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบชื้น ป่าดงดิบแล้ง ป่าดงดิบเขา และป่ารุ่น ดั้งแต่พื้นราบจนกระทั่งความสูง 1,500 เมตรจากระดับน้ำทะเล ช่วงฤดูอพยพอาจพบในสวนผลไม้และป่าชายเลน มักพบอยู่เป็นคู่ โดยอาจจับคู่ผสมพันธุ์กันหรือแค่หากินร่วมกัน และมักพบเกาะหรือบินไปตามกิ่งไม้หรือต้นไม้ในระดับค่อนข้างสูงและภายในเรือนยอดหรือร่มเงาของต้นไม้ ขณะเกาะลำตัวมักตั้งตรงหางห้อยลงข้างล่าง ตัวผู้จะโบกหางไปมา โดยใช้ขนหางคู่กลางเคลื่อนไหวเข้าหากันและออกจากกันคล้ายกับกรรไกร อาหาร ได้แก่ แมลง โดยการโฉบด้วยปากกลางอากาศใกล้ที่เกาะบางครั้งลงมายืนบนพื้นดินหรือเกาะตามพุ่มไม้ระดับต่ำ เป็นนกที่ร้องเสียงดัง ได้ยินแม้ในระยะทางไกล ๆ เสียงร้องคล้ายกับ “อ๊อก-อ๊อก” และร้องทั้งตัวผู้และตัวเมีย '''การผสมพันธุ์''' : ผสมพันธุ์ในช่วงต้นฤดูฝนระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนมิถุนายน รังเป็นรูปกรวยหงายประกอบด้วยใบหญ้า ใบไม้ รากฝอย และวัสดุเยื่อใยบางอย่าง อัดและเชื่อมเข้าด้วยกันด้วยใยแมงมุมจนทำให้ขอบรังมีขนาดอ่อนข้างหนา รังอยู่ตามกิ่งไม้ ทั้งกิ่งที่ขนาดกับพื้นดิน กิ่งตั้ง ตามง่ามไม้ หรือกิ่งที่ยื่นออกไปเหนือลำธาร รังอยู่สูงจากพื้นดิน 1-15 เมตร ความกว้างปากรังด้านนอก 77.62 มม. ความกว้างปากรังด้านใน 58.32 มม. และความลึกในรัง 39.24 มม. รังมีไข่ 3-4 ฟอง '''ไข่''' : ไข่สีสมพูจนเกือบเป็นสีขาวมีลายขีดและลายจุดสีน้ำตาลแกมแดง โดยเฉพาะไข่ด้านป้าน ขนาดของไข่โดยเฉลี่ย 15.2x20.5 มม. (ศศิธร,2539) ทั้งสองเพศช่วยกันสร้างรังฟักไข่และเลี้ยงดูลูกอ่อน ใช้เวลาฟักไข่ 12-13 วัน ลูกอายุประมาณ 8-10 วันก็จะออกจากรัง แต่จะอยู่รวมกันเป็นครอบครัวระยะหนึ่ง ก่อนจะแยกออกไปหากินและอยู่เป็นคู่ต่อไป '''สถานภาพ''' : เป็นนกประจำถิ่นและนกอพยพมาช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ พบย่อยและปริมาณปานกลางชนิดย่อย incei เป็นนกอพยพ พบทางภาคเหนือ (จังหวัดแพร่และน่าน) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัดเลยและนครราชสีมา) ภาคตะวันออกเฉียงใต้ (จังหวัดชลบุรี) ภาคกลาง (จังหวัดกำแพงเพชรและกรุงเทพมหานคร) ชนิดข่อย saturatior เป็นนกอพยพพบเฉพาะทางภาคใต้ และชนิดย่อย indochinensis เป็นนกประจำถิ่น พบทางภาคเหนือ ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ '''กฎหมาย''' : จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ----
กลับไป
นกแซวสวรรค์
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
นกกระจอกบ้าน
นกกระจิบหญ้าท้องเหลือง
นกกระติ๊ดขี้หมู
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกระติ๊ดสีอิฐ
นกกระสาแดง
นกกระสานวล
นกกวัก
นกกระเต็นแดง
นกกระเต็นน้อยธรรมดา
นกกระเต็นหัวดำ
นกกระเต็นใหญ่ธรรมดา
นกกระเต็นอกขาว
นกกะปูดเล็ก
นกกะปูดใหญ่
นกกางเขนบ้าน
นกกาน้ำเล็ก
นกกาฝากท้องสีส้ม
นกกาแวน
นกกาเหว่า
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีน้ำตาลแดง
นกกินปลีอกเหลือง
นกกินเปี้ยว
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกขมิ้นท้ายทอยดำ
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกเขาใหญ่
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจาบคาหัวเขียว
นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกตบยุงหางยาว
นกตะขาบทุ่ง
นกตีทอง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดสวน
นกปรอดสีไพลใหญ่
นกปรอดหน้านวล
นกปลีกล้วยเล็ก
นกเป็ดผีเล็ก
นกเปล้าคอสีม่วง
นกยางกรอกพันธุ์จีน
นกยางกรอกพันธุ์ชวา
นกยางเขียว
นกยางโทนใหญ่
นกยางเปีย
นกยางไฟธรรมดา
นกยางไฟหัวดำ
นกสีชมพูสวน
นกหนูแดง
นกหัวขวานเขียวคอเขียว
นกหัวขวานแดงลาย
นกหัวขวานสามนิ้วหลังทอง
นกหัวขวานสีตาล
นกอัญชันอกเทา
นกอีแพรดแถบอกดำ
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
นกเอี้ยงควาย
นกเอี้ยงดำปักษ์ใต้
นกเอี้ยงสาริกา
นกเอี้ยงหงอน
นกแอ่นกินรัง
นกแอ่นตาล
นกแอ่นบ้าน
เป็ดแดง
เหยี่ยวแดง
อีกา
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า