ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นกกินปลีคอสีน้ำตาล"

จาก ฐานข้อมูลนกในพื้นที่ชุ่มน้ำในบางอำเภอเมืองจังหวัดสุราษฎร์ธานี
(สร้างหน้าว่าง)
 
 
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
แถว 1: แถว 1:
 +
[[ไฟล์:Anthreptes_malacensis01.jpg|right]]
 +
'''วงศ์''' : Nectariniidae <br>
 +
'''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Anthreptes malacensis'' (Scopoil) 1786.<br>
 +
'''ชื่อสามัญ''' : Brown-throated sunbird<br>
 +
'''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : Plain-throated sunbird<br><br>
  
 +
มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Anthreptes malacensis'' ชื่อชนิดมาจากชื่อสถานที่ที่พบครั้งแรกคือ เมือง Malacca ประเทศมาเลเซีย ทั่วโลกมี 17 ชนิดย่อย ประเทศพบ 1 ชนิดย่อยคือ Anthreptes malacensis malacensis (Scopoil) ที่มาของชื่อชนิดย่อยเช่นเดียวกับชนิด
 +
 +
'''กระจายพันธุ์''' : ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หมู่เกาะซุนดา ฟิลิปปินส์ และเกาะสุลาเวซี
 +
 +
'''ลักษณะทั่วไป''' : เป็นนกขนาดเล็กมาก (14 ซม.) ตัวผู้หัวและท้ายทอยสีเขียวเป็นมัน แก้มและคอหอยสีน้ำตาล ลำตัวด้านล่างสีเหลือง ลำตัวด้านบนสีเขียวเป็นมัน ตะโพกและขนคลุมโคนขนหางด้านบนสีม่วงเป็นมัน โคนปีกมีแถบขนาดใหญ่สีม่วงเป็นมัน ขนคลุมปีกมีแต้มสีเขียวเล็กน้อย ตัวเมียแตกต่างจากตัวเมียของนกกินปลีส่วนใหญ่ โดยลำตัวด้านล่างสีเหลืองแกมเขียวสด ปลายหางไม่มีสีจาง อาจมีสีขาวบริเวณขอบตอนปลายขนหาง แต่มักมองไม่เห็นเมื่อดูในธรรมชาติ
 +
 +
'''อุปนิสัยและอาหาร''' : พบตามชายป่า ป่าชายเลน ป่าละเมาะใกล้ชายฝั่งทะเล สวนผลไม้ สวนหย่อม และสวนมะพร้าว ในระดับพื้นราบหรือระดับต่ำ มักพบอยู่เป็นคู่ อาหารส่วนใหญ่ได้แก่ แมลง นอกจากนี้ยังกินน้ำหวานดอกไม้ด้วย หาอาหารด้วยการบินไปเกาะตามยอดไม้หรือดอกไม้ รอจิกแมลงที่มาตอมดอกไม้ หรือสอดปากเข้าไปดอกไม้แล้วดูดกินน้ำหวาน
 +
 +
'''การผสมพันธุ์''' : ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนถึงต้นฤดูฝนระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฎาคม รังเป็นรูปกระเปาะมีหัวและท้ายเรียว ตรงกลางป่อง ตอนท้ายอาจมีลักษณะคล้ายหางยื่นยาวออกไป มีทางเข้าออกอยู่ทางด้านข้าง รังแขวนอยู่ตามกิ่งของพุ่มไม้ สูงจากพื้นดินไม่มากนัก รังประกอบด้วยต้นหญ้า ใบหญ้า และใบไม้ เชื่อมกันด้วยใยแมงมุม อาจรองรับไข่ด้วยดอกหญ้าและวัสดุที่อ่อนนุ่ม รังมีไข่ 2 ฟอง
 +
 +
'''ไข่''' : สีขาวถึงชมพู มีลายขีดสีเทาและลายจุดสีดำค่อนข้างหนาแน่น ขนาดของไข่โดยเฉลี่ย 12.7x17.3 มม. ตัวเมียหาวัสดุและสร้างรังเองทั้งหมด ขณะที่ตัวผู้จะคอยป้องกันอาณาเขต ไม่ให้ตัวอื่นไปรบกวนหรือแย่งวัสดุสร้างรัง ทั้งสองเพศช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกอ่อน  ยังไม่ทราบระยะเวลาฟักไข่และเลี้ยงดูลูกอ่อน
 +
 +
'''สถานภาพ''' : เป็นนกประจำถิ่น พบบ่อยและปริมาณมาก พบทางภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้
 +
 +
'''กฎหมาย''' : จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง
 +
----
 +
[[ไฟล์:Anthreptes_malacensis02.jpg]]

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 10:43, 25 มกราคม 2559

Anthreptes malacensis01.jpg

วงศ์ : Nectariniidae
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Anthreptes malacensis (Scopoil) 1786.
ชื่อสามัญ : Brown-throated sunbird
ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ : Plain-throated sunbird

มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Anthreptes malacensis ชื่อชนิดมาจากชื่อสถานที่ที่พบครั้งแรกคือ เมือง Malacca ประเทศมาเลเซีย ทั่วโลกมี 17 ชนิดย่อย ประเทศพบ 1 ชนิดย่อยคือ Anthreptes malacensis malacensis (Scopoil) ที่มาของชื่อชนิดย่อยเช่นเดียวกับชนิด

กระจายพันธุ์ : ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หมู่เกาะซุนดา ฟิลิปปินส์ และเกาะสุลาเวซี

ลักษณะทั่วไป : เป็นนกขนาดเล็กมาก (14 ซม.) ตัวผู้หัวและท้ายทอยสีเขียวเป็นมัน แก้มและคอหอยสีน้ำตาล ลำตัวด้านล่างสีเหลือง ลำตัวด้านบนสีเขียวเป็นมัน ตะโพกและขนคลุมโคนขนหางด้านบนสีม่วงเป็นมัน โคนปีกมีแถบขนาดใหญ่สีม่วงเป็นมัน ขนคลุมปีกมีแต้มสีเขียวเล็กน้อย ตัวเมียแตกต่างจากตัวเมียของนกกินปลีส่วนใหญ่ โดยลำตัวด้านล่างสีเหลืองแกมเขียวสด ปลายหางไม่มีสีจาง อาจมีสีขาวบริเวณขอบตอนปลายขนหาง แต่มักมองไม่เห็นเมื่อดูในธรรมชาติ

อุปนิสัยและอาหาร : พบตามชายป่า ป่าชายเลน ป่าละเมาะใกล้ชายฝั่งทะเล สวนผลไม้ สวนหย่อม และสวนมะพร้าว ในระดับพื้นราบหรือระดับต่ำ มักพบอยู่เป็นคู่ อาหารส่วนใหญ่ได้แก่ แมลง นอกจากนี้ยังกินน้ำหวานดอกไม้ด้วย หาอาหารด้วยการบินไปเกาะตามยอดไม้หรือดอกไม้ รอจิกแมลงที่มาตอมดอกไม้ หรือสอดปากเข้าไปดอกไม้แล้วดูดกินน้ำหวาน

การผสมพันธุ์ : ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนถึงต้นฤดูฝนระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฎาคม รังเป็นรูปกระเปาะมีหัวและท้ายเรียว ตรงกลางป่อง ตอนท้ายอาจมีลักษณะคล้ายหางยื่นยาวออกไป มีทางเข้าออกอยู่ทางด้านข้าง รังแขวนอยู่ตามกิ่งของพุ่มไม้ สูงจากพื้นดินไม่มากนัก รังประกอบด้วยต้นหญ้า ใบหญ้า และใบไม้ เชื่อมกันด้วยใยแมงมุม อาจรองรับไข่ด้วยดอกหญ้าและวัสดุที่อ่อนนุ่ม รังมีไข่ 2 ฟอง

ไข่ : สีขาวถึงชมพู มีลายขีดสีเทาและลายจุดสีดำค่อนข้างหนาแน่น ขนาดของไข่โดยเฉลี่ย 12.7x17.3 มม. ตัวเมียหาวัสดุและสร้างรังเองทั้งหมด ขณะที่ตัวผู้จะคอยป้องกันอาณาเขต ไม่ให้ตัวอื่นไปรบกวนหรือแย่งวัสดุสร้างรัง ทั้งสองเพศช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกอ่อน ยังไม่ทราบระยะเวลาฟักไข่และเลี้ยงดูลูกอ่อน

สถานภาพ : เป็นนกประจำถิ่น พบบ่อยและปริมาณมาก พบทางภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้

กฎหมาย : จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง


Anthreptes malacensis02.jpg