ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นกเอี้ยงดำปักษ์ใต้"

จาก ฐานข้อมูลนกในพื้นที่ชุ่มน้ำในบางอำเภอเมืองจังหวัดสุราษฎร์ธานี
(สร้างหน้าว่าง)
 
แถว 1: แถว 1:
 +
'''วงศ์''' : Aplonis Gould <br>
 +
'''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Aplonis panayensis'' (Scopoli) 1783.<br>
 +
'''ชื่อสามัญ''' : Asian Glossy Starling<br>
 +
'''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : Philippine Glossy Starling,Glossy Starling,Philippine Starling<br><br>
  
 +
มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Aplonis panayensis'' ชื่อชนิดดัดแปลงจากชื่อสถานที่ที่พบครั้งแรก คือเกาะปาในประเทศฟิลิปปินส์ ทั่วโลกมี 13 ชนิดย่อย ประเทศไทยพบ 1 ชนิดย่อยคือ Aplonis panayensis strigatus (Horsfield) ชื่อนิดมาจากรากศัพท์ภาษาละตินคือ strig,=a แปลว่าลายขีด และ –tus เป็นคำลงท้ายความหมายคือ “นกที่มีลายขีด” พบครั้งแรกที่เกาะชวาประเทศอนิโดนีเซีย
 +
 +
'''กระจายพันธุ์''' : ในอินเดียตะวันออก พม่า ไทย มาเลเซีย หมู่เกาะอันดามัน หมู่เกะนิโคบาร์ หมู่เกาะซุนดาใหญ่ และฟิลิปปินส์
 +
 +
'''ลักษณะทั่วไป''' : เป็นนกขนาดเล็ก (20 ซม.) ตัวเต็มวัยสีเขียวเข้มเกือบดำเป็นมันวาว ตาสีแดง แต่มักมองเห็นเป็นสีดำ โดยเฉพาะบริเวณที่แสงสว่างไม่เพียงพอ ตัวไม่เต็มวัยลำตัวด้านบนสีน้ำตาลแกมดำและมีเหลือบสีเขียว ลำตัวด้านล่างสีออกขาว มีลายขีดขนาดใหญ่สีดำ ตาเป็นสีแดง เหลือง ส้ม หรือชมพู
 +
 +
'''อุปนิสัยและอาหาร''' : อาศัยอยู่ตามสวนผลไม้ ป่ารุ่น แหล่งกสิกรรม ในเมือง และริมถนน มักพบอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูง และอาจพบอยู่รวมกับนกเอี้ยง นก กิ้งโครง และนกที่กินผลไม้ ตามต้นไทร หว้า หรือต้นไม้ ผลอื่น ช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์จะเกาะตามต้นมะพร้าวต้นปาล์ม ต้นตาล และต้นไม้อื่น ๆ เพื่อนอนหลับซึ่งอาจพบเป็นฝูงใหญ่มาก หากินตามกิ่งไม้เป็นส่วนใหญ่แต่อาจลงมาบนพื้นดินบ้าง เพื่อจิกผลไม้สุกที่หล่นจากต้น อาหาร ได้แก่ ผลไม้ น้ำหวานดอกไม้ แมลง และตัวหนอน
 +
 +
'''การผสมพันธุ์''' : ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม ทำรังตามโพรงต้นมะพร้าว ต้นตาล และต้นไม้ที่ตายยืนต้น มักเป็นโพรงที่เกิดตามธรรมชาติหรือโพรงเก่าของสัตว์อื่น เช่น นกหัวขวาน กระรอก เป็นต้น บางครั้งอาจทำรังตามซอกตึกหรือหลังคาบ้าน รังมักอยู่สูงจากพื้นดินพอสมควรรังมีไข่ 2-4 ฟอง
 +
 +
'''ไข่''' : ไข่สีขาว อาจมีลายดอกดวงเล็ก ๆ สีน้ำตาลแกมแดง ขนาดของไข่โดยเฉลี่ย 19.7x26.6 มม. ทั้งสองเพศช่วยกันหาสถานที่ทำรัง ช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกอ่อน ใช้เวลาฟักไข่ 15-16 วัน ใช้เวลาเลี้ยงลูก 18-20 วัน
 +
 +
'''สถานภาพ''' : เป็นนกประจำถิ่น พบบ่อยและปริมาณมาก พบเฉพาะทางภาคใต้ตั้งแต่คอคอดกระลงไป
 +
 +
'''กฎหมาย''' : จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง
 +
----

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 08:15, 9 ธันวาคม 2558

วงศ์ : Aplonis Gould
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aplonis panayensis (Scopoli) 1783.
ชื่อสามัญ : Asian Glossy Starling
ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ : Philippine Glossy Starling,Glossy Starling,Philippine Starling

มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aplonis panayensis ชื่อชนิดดัดแปลงจากชื่อสถานที่ที่พบครั้งแรก คือเกาะปาในประเทศฟิลิปปินส์ ทั่วโลกมี 13 ชนิดย่อย ประเทศไทยพบ 1 ชนิดย่อยคือ Aplonis panayensis strigatus (Horsfield) ชื่อนิดมาจากรากศัพท์ภาษาละตินคือ strig,=a แปลว่าลายขีด และ –tus เป็นคำลงท้ายความหมายคือ “นกที่มีลายขีด” พบครั้งแรกที่เกาะชวาประเทศอนิโดนีเซีย

กระจายพันธุ์ : ในอินเดียตะวันออก พม่า ไทย มาเลเซีย หมู่เกาะอันดามัน หมู่เกะนิโคบาร์ หมู่เกาะซุนดาใหญ่ และฟิลิปปินส์

ลักษณะทั่วไป : เป็นนกขนาดเล็ก (20 ซม.) ตัวเต็มวัยสีเขียวเข้มเกือบดำเป็นมันวาว ตาสีแดง แต่มักมองเห็นเป็นสีดำ โดยเฉพาะบริเวณที่แสงสว่างไม่เพียงพอ ตัวไม่เต็มวัยลำตัวด้านบนสีน้ำตาลแกมดำและมีเหลือบสีเขียว ลำตัวด้านล่างสีออกขาว มีลายขีดขนาดใหญ่สีดำ ตาเป็นสีแดง เหลือง ส้ม หรือชมพู

อุปนิสัยและอาหาร : อาศัยอยู่ตามสวนผลไม้ ป่ารุ่น แหล่งกสิกรรม ในเมือง และริมถนน มักพบอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูง และอาจพบอยู่รวมกับนกเอี้ยง นก กิ้งโครง และนกที่กินผลไม้ ตามต้นไทร หว้า หรือต้นไม้ ผลอื่น ช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์จะเกาะตามต้นมะพร้าวต้นปาล์ม ต้นตาล และต้นไม้อื่น ๆ เพื่อนอนหลับซึ่งอาจพบเป็นฝูงใหญ่มาก หากินตามกิ่งไม้เป็นส่วนใหญ่แต่อาจลงมาบนพื้นดินบ้าง เพื่อจิกผลไม้สุกที่หล่นจากต้น อาหาร ได้แก่ ผลไม้ น้ำหวานดอกไม้ แมลง และตัวหนอน

การผสมพันธุ์ : ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม ทำรังตามโพรงต้นมะพร้าว ต้นตาล และต้นไม้ที่ตายยืนต้น มักเป็นโพรงที่เกิดตามธรรมชาติหรือโพรงเก่าของสัตว์อื่น เช่น นกหัวขวาน กระรอก เป็นต้น บางครั้งอาจทำรังตามซอกตึกหรือหลังคาบ้าน รังมักอยู่สูงจากพื้นดินพอสมควรรังมีไข่ 2-4 ฟอง

ไข่ : ไข่สีขาว อาจมีลายดอกดวงเล็ก ๆ สีน้ำตาลแกมแดง ขนาดของไข่โดยเฉลี่ย 19.7x26.6 มม. ทั้งสองเพศช่วยกันหาสถานที่ทำรัง ช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกอ่อน ใช้เวลาฟักไข่ 15-16 วัน ใช้เวลาเลี้ยงลูก 18-20 วัน

สถานภาพ : เป็นนกประจำถิ่น พบบ่อยและปริมาณมาก พบเฉพาะทางภาคใต้ตั้งแต่คอคอดกระลงไป

กฎหมาย : จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง