ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คัดเค้าทอง"

จาก ฐานข้อมูลพืชสมุนไพรในศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่าเขาท่าเพชรจังหวัดสุราษฎร์ธานี
(สร้างหน้าด้วย "right '''วงศ์''' : Sapindaceae <br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Nephelium hypoleucum Kurz'...")
 
แถว 1: แถว 1:
 
[[ไฟล์:Kolan.png|right]]
 
[[ไฟล์:Kolan.png|right]]
'''วงศ์''' : Sapindaceae <br>
+
'''วงศ์''' : Rubiaceae <br>
'''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Nephelium hypoleucum Kurz''<br>
+
'''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Aidia densiflora (Wall.) Masam.''<br>
'''ชื่อสามัญ''' : Korlan<br>
+
'''ชื่อสามัญ''' : <br>
'''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : หมักแงว, หมักแวว, มะแงว, มะแงะ, ลิ้นจี่ป่า<br>
+
'''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : เข็มช้าง<br>
 
<br>
 
<br>
 
'''ลักษณะทางพฤกษศาสตร์'''<br>
 
'''ลักษณะทางพฤกษศาสตร์'''<br>
'''ต้น''' : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูงประมาณ 10-20 เมตร เปลือกเรียบ มีสีน้ำตาลคล้ำ เรือนยอดเป็นพุ่มค่อนข้างทึบ<br>
+
'''ต้น''' : ไม้พุ่มรอเลื้อย มีความสูงประมาณ 3-6 เมตร เปลือกลำต้นเรียบและเป็นสีน้ำตาล ลักษณะของลำต้นคดและยาว มักขึ้นพาดพันเลื้อยไปตามต้นไม้และกิ่งไม้ หากไม่มีที่เลื้อยพันก็จะเป็นไม้กึ่งเลื้อยกึ่งยืนต้นคล้ายกับนมแมว ตามลำต้นมีข้อ ซึ่งจะมีใบงอกออกเป็นคู่ ๆ และจะมีหนามแหลมโค้งงองุ้มออกจากโคนใบมีลักษณะคล้ายกับเขาควายข้อละหนึ่งคู่<br>
'''ใบ''' : ใบคอแลน เนื้อหนา ใบสีเขียว ออกเป็นช่อติดเรียงสลับยาวประมาณ 20-30 เซนติเมตร โดยใบย่อยเป็นรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับถึงรูปรี ติดตรงข้าม 1-3 คู่ โคนใบมนและเบี้ยว ขอบใบเรียบ หลังใบเกลี้ยงเป็นมัน ส่วนท้องใบสีจาง<br>
+
'''ใบ''' : ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้ามกัน ลักษณะของใบเป็นรูปรี (ลักษณะเรียวยาวคล้ายกับใบมะม่วง) ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 4-5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 6-12 เซนติเมตร หลังใบเรียบเป็นสีเขียวเข้มและเป็นมัน ท้องใบเรียบลื่นและมีสีอ่อนกว่า เนื้อใบเหนียวหนาแข็ง และมีหูใบขนาดเล็กลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมอยู่ระหว่างก้านใบ<br>
'''ดอก''' : มีขนาดเล็ก มีสีขาวอมเขียว ออกรวมกันเป็นช่อตามปลายกิ่ง ทุกส่วนของช่อดอกจะมีขนสีเทาทั่วไป โคนกลีบรองดอกจะติดกันเป็นรูปถ้วยปากกว้าง ปลายแยกเป็น 5 แฉก ส่วนกลีบดอกไม่มี มีเกสรตัวผู้ 5 อัน มีรังไข่กลมและมีขนปกคลุม<br>
+
'''ดอก''' : ออกดอกเป็นช่อกระจุกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกเป็นช่อใหญ่ แต่ละช่อดอกจะมีขนาดตั้งแต่ 4-10 เซนติเมตร ในแต่ละช่อจะมีดอกย่อยประมาณ 10-25 ดอก ดอกย่อยมีขนาดเล็กสีขาวและมีกลิ่นหอม ดอกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร ลักษณะคล้ายดอกเข็ม มีกลีบดอก 5 กลีบ เมื่อดอกบานเต็มที่กลีบดอกจะบิด ที่โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น แต่ละดอกจะมีเกสรเพศผู้ 5 ก้านยื่นยาวพ้นกลีบดอก ส่วนเกสรเพศเมียเป็นรูปกระสวยสีขาวหรือเป็นรูปแถบเส้นอยู่ระหว่างกลีบดอก 6 แถบ กลีบเลี้ยงดอกเป็นสีขาวอมสีเขียว โคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นแฉกแหลม ดอกจะบานพร้อมกันทั้งช่อ<br>
'''ผล''' : ลักษณะเป็นรูปรีถึงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางกว้างประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร และยาวประมาณ 2.5-3 เซนติเมตร ลักษณะของผิวจะขรุขระ เป็นปมเล็ก ๆ กระจายไปทั่ว ผลอ่อนจะเป็นสีเขียว ส่วนผลแก่จัดจะออกเป็นสีแดงเข้ม โดยในผลจะมีเมล็ด 1 เมล็ด และมีเนื้อเยื่อใส ๆ และน้ำหุ้มเมล็ดอยู่<br>
+
'''ผล''' : ออกผลเป็นพวงหรือออกเป็นกลุ่ม ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกลมหรือกลมรี ผิวผลเรียบและเป็นมัน ผลมีขนาดเท่าเมล็ดพุทรากลม ๆ โดยจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของผลประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร ปลายผลแหลม ผลเป็นสีเขียวเข้ม เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีดำ ภายในผลมีเมล็ดขนาดเล็กอัดแน่นกันเป็นจำนวนมาก<br>
 
'''การขยายพันธุ์'''  : วิธีการเพาะเมล็ด
 
'''การขยายพันธุ์'''  : วิธีการเพาะเมล็ด
 
<br><br>
 
<br><br>
 
'''สรรพคุณ'''
 
'''สรรพคุณ'''
:::1. ช่วยทำให้ชุ่มคอ
+
:::1. ผลมีรสเฝื่อนปร่า ช่วยบำรุงโลหิต (ผล, รากและผล, ต้น, เปลือกต้น, ทั้งต้น)
:::2. ช่วยกระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกัน ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ และเพิ่มพลังงาน
+
:::1. ผลใช้ปรุงเป็นยาต้มกินเป็นยาฟอกโลหิต (ผล)
:::3. ช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด มันจึงเหมาะอย่างมากสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน
+
:::1. ช่วยแก้โลหิต (เถา[6], ทั้งต้น[8])
:::4. ช่วยเสริมสร้างสมาธิ แก้ปัญหาสมาธิสั้น
+
:::1. รากมีรสฝาดเย็น ใช้เป็นยาขับโลหิต (ราก)
:::5. ช่วยลดความเครียด
+
:::1. ใบมีรสเฝื่อนเมา ช่วยแก้โลหิตซ่าน (ใบ, เปลือกต้น)
:::6. ช่วยในการย่อยอาหาร
+
:::1. ดอกคัดเค้าช่วยแก้โลหิตในกองกำเดา (ดอก)
:::7. ใช้เป็นยาระบาย
+
:::1. รากมีรสเย็นและฝาดเล็กน้อย มีสรรพคุณเป็นยารักษาไข้เพื่อโลหิต (ราก)
:::8. ช่วยต่อสู้กับเชื้อหวัดและไวรัสไข้หวัดใหญ่
+
:::1. รากใช้เป็นยารักษาโรครัตตะปิดตะโรค (โรคเกี่ยวกับโลหิตชนิดหนึ่ง) (ราก)
 +
:::1. เปลือกต้นมีรสฝาด ช่วยปิดธาตุ (เปลือกต้น)
 +
:::1. ช่วยแก้เลือดออกตามทวารทั้งเก้า (เปลือกต้น)
 +
:::1. รากหรือแก่นใช้ฝนกับน้ำกินเป็นยาแก้ไข้ หรือจะใช้ใบนำมาแช่กับน้ำดื่มเป็นยาแก้ไข้ก็ได้เช่นกัน (ใบ, ราก, เถา, แก่น, ทั้งต้น)
 +
:::1. ช่วยแก้พิษไข้กาฬ (หนาม)
 +
:::1. หนามใช้เป็นยาลดไข้ ช่วยลดความร้อนในร่างกาย (หนาม)
 +
:::1. ช่วยแก้อาการไอ (ไม่ระบุส่วนที่ใช้)
 +
:::1. รากนำมาต้มกินเป็นยารักษาโรคเลือดออกตามไรฟัน (ราก, ดอก)
 +
:::1. ทั้งต้นมีรสฝาดเฝื่อน ช่วยแก้เสมหะ (ราก, เปลือกต้น, เถา, ทั้งต้น)
 +
:::1. รากช่วยขับลม (ราก)
 +
:::1. รากใช้ต้มกินเป็นยาแก้อาการท้องเสีย (ราก, ผล)
 +
:::1. ผลใช้เป็นยาขับระดู ขับโลหิตประจำเดือนเสียของสตรี โดยใช้ผลประมาณ 1 กำมือ นำมาต้มกับน้ำ 1 ถ้วยแก้ว ใช้รับประทานวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ส่วนรากก็มีสรรพคุณขับระดูเช่นกัน (ราก, ผล)
 +
:::1. ผลใช้ปรุงเป็นยาต้มกินเป็นยาขับฟอกโลหิตระดูที่เน่าร้ายของสตรี รักษาโลหิตอันเน่าให้ตกเสีย และรักษาโลหิตร้อนให้บริบูรณ์ (ผล, รากและผล) ส่วนต้นช่วยแก้โลหิตระดูร้อนให้บริบูรณ์ (ต้น)
 +
:::1. ช่วยรีดมดลูก (เปลือกต้น)
 +
:::1. รากใช้ฝนกับน้ำซาวข้าวช่วยรักษาฝีและรักษาแผลทั่วไป โดยเฉพาะแผลสุนัขกัด หมอยาพื้นบ้านกล่าวว่า การใช้รากคัดเค้าฝนกับเขี้ยวเสือจะช่วยรักษาแผลที่ถูกสุนัขกัด ทำให้แผลหาย และยังมีความเชื่อด้วยว่าจะทำให้สุนัขตัวที่กัดถึงแก่ความตาย (เป็นความเชื่อส่วนบุคคล) (ราก)
 +
:::1. ยอดคัดเค้านำมาขยี้หรือตำใช้พอกรักษาฝี จะทำให้ฝีหายเร็วขึ้น (ยอด) และนอกจากจะใช้เป็นยาภายนอกแล้ว ยังมีการใช้คัดเค้าทั้งห้าส่วนนำมาต้มเป็นยารับประทานเพื่อใช้รักษาฝีทั้งภายนอกและภายในอีกด้วย (ทั้งต้น)
 +
:::1. หนามช่วยแก้พิษฝีต่าง ๆ แก้ฝีประคำร้อย (มีข้อมูลระบุว่าใช้หนามนำมาฝนรักษาฝีเช่นเดียวกับการใช้ราก) (หนาม)
 +
:::1. ช่วยบำรุงผิวพรรณให้ผ่องใส (ผล)
 
----
 
----
  

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 12:24, 22 กันยายน 2564

Kolan.png

วงศ์ : Rubiaceae
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aidia densiflora (Wall.) Masam.
ชื่อสามัญ :
ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ : เข็มช้าง

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ต้น : ไม้พุ่มรอเลื้อย มีความสูงประมาณ 3-6 เมตร เปลือกลำต้นเรียบและเป็นสีน้ำตาล ลักษณะของลำต้นคดและยาว มักขึ้นพาดพันเลื้อยไปตามต้นไม้และกิ่งไม้ หากไม่มีที่เลื้อยพันก็จะเป็นไม้กึ่งเลื้อยกึ่งยืนต้นคล้ายกับนมแมว ตามลำต้นมีข้อ ซึ่งจะมีใบงอกออกเป็นคู่ ๆ และจะมีหนามแหลมโค้งงองุ้มออกจากโคนใบมีลักษณะคล้ายกับเขาควายข้อละหนึ่งคู่
ใบ : ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้ามกัน ลักษณะของใบเป็นรูปรี (ลักษณะเรียวยาวคล้ายกับใบมะม่วง) ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 4-5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 6-12 เซนติเมตร หลังใบเรียบเป็นสีเขียวเข้มและเป็นมัน ท้องใบเรียบลื่นและมีสีอ่อนกว่า เนื้อใบเหนียวหนาแข็ง และมีหูใบขนาดเล็กลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมอยู่ระหว่างก้านใบ
ดอก : ออกดอกเป็นช่อกระจุกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกเป็นช่อใหญ่ แต่ละช่อดอกจะมีขนาดตั้งแต่ 4-10 เซนติเมตร ในแต่ละช่อจะมีดอกย่อยประมาณ 10-25 ดอก ดอกย่อยมีขนาดเล็กสีขาวและมีกลิ่นหอม ดอกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร ลักษณะคล้ายดอกเข็ม มีกลีบดอก 5 กลีบ เมื่อดอกบานเต็มที่กลีบดอกจะบิด ที่โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น แต่ละดอกจะมีเกสรเพศผู้ 5 ก้านยื่นยาวพ้นกลีบดอก ส่วนเกสรเพศเมียเป็นรูปกระสวยสีขาวหรือเป็นรูปแถบเส้นอยู่ระหว่างกลีบดอก 6 แถบ กลีบเลี้ยงดอกเป็นสีขาวอมสีเขียว โคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นแฉกแหลม ดอกจะบานพร้อมกันทั้งช่อ
ผล : ออกผลเป็นพวงหรือออกเป็นกลุ่ม ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกลมหรือกลมรี ผิวผลเรียบและเป็นมัน ผลมีขนาดเท่าเมล็ดพุทรากลม ๆ โดยจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของผลประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร ปลายผลแหลม ผลเป็นสีเขียวเข้ม เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีดำ ภายในผลมีเมล็ดขนาดเล็กอัดแน่นกันเป็นจำนวนมาก
การขยายพันธุ์  : วิธีการเพาะเมล็ด

สรรพคุณ

1. ผลมีรสเฝื่อนปร่า ช่วยบำรุงโลหิต (ผล, รากและผล, ต้น, เปลือกต้น, ทั้งต้น)
1. ผลใช้ปรุงเป็นยาต้มกินเป็นยาฟอกโลหิต (ผล)
1. ช่วยแก้โลหิต (เถา[6], ทั้งต้น[8])
1. รากมีรสฝาดเย็น ใช้เป็นยาขับโลหิต (ราก)
1. ใบมีรสเฝื่อนเมา ช่วยแก้โลหิตซ่าน (ใบ, เปลือกต้น)
1. ดอกคัดเค้าช่วยแก้โลหิตในกองกำเดา (ดอก)
1. รากมีรสเย็นและฝาดเล็กน้อย มีสรรพคุณเป็นยารักษาไข้เพื่อโลหิต (ราก)
1. รากใช้เป็นยารักษาโรครัตตะปิดตะโรค (โรคเกี่ยวกับโลหิตชนิดหนึ่ง) (ราก)
1. เปลือกต้นมีรสฝาด ช่วยปิดธาตุ (เปลือกต้น)
1. ช่วยแก้เลือดออกตามทวารทั้งเก้า (เปลือกต้น)
1. รากหรือแก่นใช้ฝนกับน้ำกินเป็นยาแก้ไข้ หรือจะใช้ใบนำมาแช่กับน้ำดื่มเป็นยาแก้ไข้ก็ได้เช่นกัน (ใบ, ราก, เถา, แก่น, ทั้งต้น)
1. ช่วยแก้พิษไข้กาฬ (หนาม)
1. หนามใช้เป็นยาลดไข้ ช่วยลดความร้อนในร่างกาย (หนาม)
1. ช่วยแก้อาการไอ (ไม่ระบุส่วนที่ใช้)
1. รากนำมาต้มกินเป็นยารักษาโรคเลือดออกตามไรฟัน (ราก, ดอก)
1. ทั้งต้นมีรสฝาดเฝื่อน ช่วยแก้เสมหะ (ราก, เปลือกต้น, เถา, ทั้งต้น)
1. รากช่วยขับลม (ราก)
1. รากใช้ต้มกินเป็นยาแก้อาการท้องเสีย (ราก, ผล)
1. ผลใช้เป็นยาขับระดู ขับโลหิตประจำเดือนเสียของสตรี โดยใช้ผลประมาณ 1 กำมือ นำมาต้มกับน้ำ 1 ถ้วยแก้ว ใช้รับประทานวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น ส่วนรากก็มีสรรพคุณขับระดูเช่นกัน (ราก, ผล)
1. ผลใช้ปรุงเป็นยาต้มกินเป็นยาขับฟอกโลหิตระดูที่เน่าร้ายของสตรี รักษาโลหิตอันเน่าให้ตกเสีย และรักษาโลหิตร้อนให้บริบูรณ์ (ผล, รากและผล) ส่วนต้นช่วยแก้โลหิตระดูร้อนให้บริบูรณ์ (ต้น)
1. ช่วยรีดมดลูก (เปลือกต้น)
1. รากใช้ฝนกับน้ำซาวข้าวช่วยรักษาฝีและรักษาแผลทั่วไป โดยเฉพาะแผลสุนัขกัด หมอยาพื้นบ้านกล่าวว่า การใช้รากคัดเค้าฝนกับเขี้ยวเสือจะช่วยรักษาแผลที่ถูกสุนัขกัด ทำให้แผลหาย และยังมีความเชื่อด้วยว่าจะทำให้สุนัขตัวที่กัดถึงแก่ความตาย (เป็นความเชื่อส่วนบุคคล) (ราก)
1. ยอดคัดเค้านำมาขยี้หรือตำใช้พอกรักษาฝี จะทำให้ฝีหายเร็วขึ้น (ยอด) และนอกจากจะใช้เป็นยาภายนอกแล้ว ยังมีการใช้คัดเค้าทั้งห้าส่วนนำมาต้มเป็นยารับประทานเพื่อใช้รักษาฝีทั้งภายนอกและภายในอีกด้วย (ทั้งต้น)
1. หนามช่วยแก้พิษฝีต่าง ๆ แก้ฝีประคำร้อย (มีข้อมูลระบุว่าใช้หนามนำมาฝนรักษาฝีเช่นเดียวกับการใช้ราก) (หนาม)
1. ช่วยบำรุงผิวพรรณให้ผ่องใส (ผล)

Kolan1.png Kolan2.png Kolan3.png Kolan4.png

แหล่งที่มาของภาพ
http://www.phargarden.com/userfiles/image/images/ph216_kolan/ph216_005.jpg
https://www.naewna.com/uploads/news/source/337940.jpg
https://www.nanagarden.com/Picture/Product/400/265977.jpg
http://www.phargarden.com/userfiles/image/images/ph216_kolan/ph216_004.jpg
https://img.kaidee.com/prd/20181001/342023803/b/d1a9b64f-58b5-4549-8b8f-ca2abadfa48b.jpg