ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะไฟ"
(สร้างหน้าด้วย "right '''วงศ์''' : Phyllanthaceae <br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Baccaurea ramiflora Lou...") |
|||
แถว 41: | แถว 41: | ||
---- | ---- | ||
'''แหล่งที่มาของภาพ''' <br> | '''แหล่งที่มาของภาพ''' <br> | ||
− | https:// | + | https://i0.wp.com/herbth.wpcomstaging.com/wp-content/uploads/2020/02/Burmese-grape_ต้นมะไฟ_001.jpg?fit=2732%2C1186 <br> |
− | https:// | + | https://i1.wp.com/herbth.wpcomstaging.com/wp-content/uploads/2020/02/Burmese-grape_ต้นมะไฟ_050.jpg?fit=2732%2C1186 <br> |
− | https:// | + | https://i0.wp.com/herbth.wpcomstaging.com/wp-content/uploads/2020/02/Burmese-grape_ต้นมะไฟ_166.jpg?fit=2732%2C1186 <br> |
− | https:// | + | https://i0.wp.com/herbth.wpcomstaging.com/wp-content/uploads/2020/02/Burmese-grape_ต้นมะไฟ_067.jpg?fit=2732%2C1186 <br> |
− | https:// | + | https://i0.wp.com/herbth.wpcomstaging.com/wp-content/uploads/2020/02/Burmese-grape_ต้นมะไฟ_034.jpg?fit=2732%2C1186 <br> |
รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 09:39, 23 กันยายน 2564
วงศ์ : Phyllanthaceae
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Baccaurea ramiflora Lour.
ชื่อสามัญ : Burmese grape, Rambeh Bambi
ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ : ส้มไฟ, หัมกัง, ผะยิ้ว, แซเครือแซ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ต้น : ไม้ต้นขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูง 10-15 เมตร
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปรีแกมหอก กว้าง 5-8 เซนติเมตร ยาว 10-22 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ หรือหยักตื้นๆ เส้นแขนงใบมี 5-8 คู่ ด้านล่างนูน เนื้อใบค่อนข้างบางเกลี้ยง ก้านใบยาว 5-7.5 เซนติเมตร
ดอก : ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกที่ซอกใบ ดอกเพศผู้ กลีบเลี้ยงมี 4-5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน เกสรเพศผู้ มี 4-8 อัน ดอกเพศเมียออกเป็นช่อยาว มีใบประดับขนาดเล็กอยู่ที่ก้านดอก กลีบเลี้ยง รูปขอบขนานแคบๆ ยาวประมาณ 1.2 เซนติเมตร รังไข่เหนือวงกลีบ มีขน
ผล : ผลมีเนื้อหลายเมล็ด รูปค่อนข้างกลมหรือรี ขนาด 1-1.5 เซนติเมตร สีผิวเหลืองถึงแดง ผิวเกลี้ยง มี 1-3 เมล็ด เนื้อหุ้มเมล็ดสีขาวขุ่น
การขยายพันธุ์ : วิธีการเพาะเมล็ดตอนกิ่ง และทาบกิ่ง โดยการเตรียมหลุมขนาด 50×50 เซนติเมตร ระยะห่างระหว่างต้น 3×3 เมตร มะไฟสามารถปลูกระบบชิดได้ เพราะมะไฟออกลูกใต้ต้น โคนต้น ไม่ใช่ออกที่ยอด เพราะถ้าออกที่ยอด ต้นไม้จะต้องใช้แสงเยอะ และไม่ควรปลูกชิดกันจนบังแสง
สรรพคุณ
- 1. ช่วยทำให้ชุ่มคอ
- 2. ช่วยบำรุงธาตุในร่างกาย (ใบ)
- 3. ช่วยแก้โรคหวัด (ใบ)
- 4. ช่วยแก้ไข้มาลาเรีย (ใบ)
- 5. ช่วยแก้และบรรเทาอาการไอ (ใบ)
- 6. ช่วยขับเสมหะและช่วยละลายเสมหะ
- 7. ช่วยดับพิษร้อน (รากสดหรือรากแห้ง)
- 8. ผลใช้เป็นยาช่วยย่อย รักษาอาการอาหารไม่ย่อย
- 9. ผลช่วยแก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
- 10. แก้อาการท้องร่วง (รากนำไปต้มกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ)
- 11. ช่วยบรรเทาอาการปวดท้อง (เมล็ด)
- 12. ใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ (ใบ)
- 13. ช่วยขับปัสสาวะ (ใบ)
- 14. ช่วยรักษากลาก เกลื้อน และโรคเรื้อน (ใบ)
- 15. เปลือกมะไฟต้มใช้แก้โรคผิวหนัง
- 16. ช่วยแก้อาการผิวหนังอักเสบชนิดที่เป็นถุงน้ำและลอกออกมา (รากสดหรือรากแห้ง)
- 17. ช่วยแก้พิษฝี (ใบ)
- 18. ช่วยแก้ฝีภายใน (รากสดหรือรากแห้ง)
- 19. ช่วยบรรเทาอาการไข้ที่มีอาการปวดข้อ ปวดเข่า และมีผื่นคล้ายลมพิษ หรือ "ไข้ประดง" (รากสดหรือรากแห้ง)
- 20. ช่วยรักษาโรคเริม (รากสดหรือรากแห้ง)
- 21. แก้วัณโรค (รากสดหรือรากแห้ง)
- 22. ใช้แก้พิษตานซาง (รากสดหรือรากแห้ง)




แหล่งที่มาของภาพ
https://i0.wp.com/herbth.wpcomstaging.com/wp-content/uploads/2020/02/Burmese-grape_ต้นมะไฟ_001.jpg?fit=2732%2C1186
https://i1.wp.com/herbth.wpcomstaging.com/wp-content/uploads/2020/02/Burmese-grape_ต้นมะไฟ_050.jpg?fit=2732%2C1186
https://i0.wp.com/herbth.wpcomstaging.com/wp-content/uploads/2020/02/Burmese-grape_ต้นมะไฟ_166.jpg?fit=2732%2C1186
https://i0.wp.com/herbth.wpcomstaging.com/wp-content/uploads/2020/02/Burmese-grape_ต้นมะไฟ_067.jpg?fit=2732%2C1186
https://i0.wp.com/herbth.wpcomstaging.com/wp-content/uploads/2020/02/Burmese-grape_ต้นมะไฟ_034.jpg?fit=2732%2C1186