ดูโค้ดสำหรับ ผักกุ่มน้ำ
←
ผักกุ่มน้ำ
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[[ภาพ:Crateva_magna_Lour.jpg]]<br/><br/> '''วงศ์''' CAPPARACEAE<br/> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' ''Crateva magna'' (Lour.)<br/> '''ชื่อสามัญ''' <br/> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' กุ่ม (เลย) อำเภอ (สุพรรณบุรี) ผักกุ่ม ก่าม(ตะวันออกเฉียงเหนือ)<br/> '''ลักษณะทางพฤกษศาสตร์''' ไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 20 เมตร เปลือกลำต้นค่อนข้างเรียบ สีเทา จะผลัดใบร่วงหมดทั้งต้นเมื่อจะออกดอก ใบประกอบแบบนิ้วมือ ใบย่อย 3 ใบ รูปวงรีหรือรูปไข่ ออกเรียงสลับ กว้าง 2.5-7 เซนติเมตร ยาว 5.5-16 เซนติเมตร ปลายกว้างแหลม โคนสอบแคบ ขอบใบเรียบ ผิวใบบางและนิ่ม หลังใบสีเขียวเป็นมัน ท้องใบมีขนอ่อนสีเทา เส้นกลางใบอมแดง ปลายก้านใบมีต่อมน้ำตาลขนาด 1 มิลลิเมตร กว้าง 1-3 นิ้ว ยาว 2-9 นิ้ว ใบที่อยู่ด้านข้างโคนจะเบี้ยวเล็กน้อย หลังใบ และท้องใบเรียบ ดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง และซอกใบ ยาว 4-6 นิ้ว ติดดอก 20-60 ดอก กลีบดอกเมื่อแรกบานสีขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน กลีบรองดอกรูปไข่ปลายแหลม กลีบดอกกลมยาว 2-3 เซนติเมตร สีขาว มี 4 กลีบ กลีบล่างและกลีบบนอย่างละ 2 กลีบ แต่กลีบบนจะใหญ่กว่า เกสรตัวผู้มีก้านสีม่วงหรือสีชมพู ยาวยื่น 13-25 อัน ผลสด รูปร่างค่อนข้างกลมรี เปลือกหนา ผลอ่อนผิวมีสะเก็ดสีเหลืองอมเทา เมื่อสุกสีเทา ผลแก่ผิวเรียบยาว 5-8 เซนติเมตร เมล็ดรูปเกือกม้า ยาว 6-9 มิลลิเมตร มีหลายเมล็ด พบตามข้างลำธาร ริมแม่น้ำ ที่ชื้นแฉะ ในป่าเบญจพรรณ ออกดอกราวเดือนกุมภาพันธ์ ถึงมิถุนายน <br/> '''ประโยชน์ด้านอาหาร''' ยอดอ่อนใช้ปรุงอาหารได้ แต่ต้องนำมาดองน้ำเกลือตากแดด ทิ้งไว้ประมาณ 2-3 วัน แล้วจึงนำไปปรุงอาหาร โดยผัดหรือแกงได้<br> '''สรรพคุณทางยา''' <br/> *'''แก่น''' ต้มน้ำดื่ม ช่วยบำรุงกำลัง แก้ปวดเมื่อย ใช้แก้โรคริดสีดวงทวาร โรคนิ่ว บำรุงเลือด *'''เปลือกต้น''' ทำเป็นยาลูกกลอน แก้อัมพฤกษ์ อัมพาต รสขมหอม แก้สะอึก ขับผายลม ขับเหงื่อ แก้ในกองลม แก้กระษัย แก้ริดสีดวงผอมแห้ง ระงับพิษที่ผิวหนัง แก้ไข้ ขับน้ำเหลืองเสีย เป็นยาบำรุง ขับน้ำดี ขับนิ่วในทางเดินปัสสาวะ แก้อาเจียน แก้ลมทำให้เรอ *'''ใบ''' รสขมหอม ขับเหงื่อ แก้ไข้ เจริญอาหาร ระบาย บำรุงธาตุ ขับพยาธิ แก้ปวดเส้น แก้อัมพาต แก้โรคไขข้ออักเสบ แก้สะอึก ขับผายลม แก้ลมขึ้นเบื้องสูง แก้โรคผิวหนังและกลากเกลื้อน *'''ดอก''' รสเย็น แก้เจ็บในตา แก้ไข้ครั่นเนื้อครั่นตัว แก้เจ็บคอ ผล รสขม แก้ไข้ *'''ราก''' ใช้ขับหนอง บำรุงธาตุ *เปลือกต้น ผสมรวมกับเปลือกกุ่มบก เปลือกทองหลางใบมน ต้มน้ำดื่ม เป็นยาขับลม แก้สะอึก กระพี้ รสร้อน แก้ริดสีดวงทวาร แก่น รสร้อน แก้นิ่ว ราก แช่น้ำกิน บำรุงธาตุ *ใบและกิ่ง มีสารไฮโดรเจนไซยาไนด์ซึ่งเป็นพิษ ไม่ควรกินสดควรดอง หรือต้มเพื่อกำจัดพิษก่อนกิน '''เพาะขยายพันธุ์''' เมล็ด และแตกต้นอ่อนจากราก<br><br> [[ภาพ:Crateva_magna_Lour_01.jpg]] [[ภาพ:Crateva_magna_Lour_02.jpg]] [[ภาพ:Crateva_magna_Lour_03.jpg]] [[ภาพ:Crateva_magna_Lour_04.jpg]]
กลับไป
ผักกุ่มน้ำ
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
กระเจี๊ยบแดง
กระทือ
กระวาน
กระสัง
กล้วยป่า
กลอย
กะเพรา
กะเม็ง
กานพลู
กำจัดต้น
ขี้เหล็ก
แค
จิกเขา
จิกนา
ดาหลา
ชะพลู
ชะมวง
ดีปลากั้ง
ตะลิงปลิง
ตำลึง
เต่าร้าง
เถาคัน
ทำมัง
ไทรเลียบ
บังบาย
บุกคางคก
บุกบ้าน
ใบบัวบก
ใบตับเต่า
ใบหูเสือ
ปุด
แป๊ะตำปึง
ผักกาดปลิว
ผักกาดนกเขา
ผักก้านตรง
ผักกุ่มน้ำ
ผักกูด
ผักแขยง
ผักโขม
ผักคราดหัวแหวน
ผักชีฝรั่ง
ผักชีล้อม
ผักชีลาว
ผักบุ้งไทย
ผักพาย
ผักแพว
ผักแว่นน้ำ
ผักเสี้ยน
ผักหนาม
ผักหวานช้าง
ผักหวานบ้าน
ผักเหลียง
ผักไห่
ผ้าร้ายห่อทอง
ฝอยทอง
พลูคาว
พาโหม
เพกา
มะกล่ำต้น
มะกอก
มะรุม
มังค่า
มันปู
แมงลัก
ย่านาง
ยอ
ราน้ำ
ลูกฉิ่ง
ลูกเนียง
ส้มแขก
ส้มเคยขาว
ส้มงั่ว
ส้มป่อย
เสม็ดชุน
โสน
หญ้าเบญจรงค์
หูหมี
โหระพา
วิธีใช้
คู่มือการใช้งาน
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า