ผักบุ้งไทย

จาก โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชผักป่าพื้นบ้านภาคใต้ที่มีอยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี
รุ่นปรับปรุงเมื่อ 14:52, 10 พฤศจิกายน 2558 โดย Chakkrit (พูดคุย | เรื่องที่เขียน) (ล็อก "ผักบุ้งไทย" ([แก้ไข=อนุญาตเฉพาะผู้ดูแลระบบ] (ไม่มีกำหนด) [เปลี่ยนชื่อ=อนุญาตเฉพาะผู้ดู...)

(ต่าง) ←รุ่นปรับปรุงก่อนหน้า | รุ่นล่าสุด (ต่าง) | รุ่นปรับปรุงถัดไป→ (ต่าง)

CONVOLVULACEAE 1.jpg

วงศ์ CONVOLVULACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Ipomoea aquatica
ชื่อสามัญ
ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ ผักทอดยอด ผักบุ้งนา กำจร โหนเดาะ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ผักบุ้งไทย เป็นไม้น้ำ และเป็นไม้ล้มลุกมีอายุหลายปี ลำต้นเลื้อยทอดไปตามน้ำหรือที่ ชื้นเฉะ สามารถปลูกได้ในดินทุกชนิดขึ้นได้ในที่แล้ง แต่หากมีน้ำมากลำต้นก็จะเจริญเติบโตได้ดี
ประโยชน์ด้านอาหาร ผักบุ้งเป็นผักที่มีฤทธิ์เย็น การใช้ประโยชน์และคุณค่าทางอาหาร ผักบุ้งเป็นผักที่สามารถนำมาปรุงอาหารได้หลากหลายชนิด สามารถรับประทานเป็นผักสด หรือนำมาปรุงอาหารได้หลายชนิด เช่นผักลวก จิ้มน้ำพริก ลวดราดกะทิสด แกงคั่วส้ม แกงส้ม ผัดน้ำมัน หรือแกงชนิดอื่นๆ นอกจากนี้ยังสามารถนำมาดองเป็นผักบุ้งดอง กินกับขนมจีนน้ำยา หรือน้ำพริก
สรรพคุณทางยา

  • ผักบุ้งมีรสจืด และฤทธิ์เย็น มีคุณสมบัติ ในการขับพิษ ถอนพิษ เบื่อเมา และขับปัสสาวะ

เพาะขยายพันธุ์การปักชำ

CONVOLVULACEAE 2.jpg CONVOLVULACEAE 3.jpg CONVOLVULACEAE 4.jpg CONVOLVULACEAE 5.jpg