ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หูหมี"

จาก โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชผักป่าพื้นบ้านภาคใต้ที่มีอยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี
(สร้างหน้าด้วย "ภาพ:Epithema_carnosa_Benth.jpg<br/><br/> '''วงศ์''' GESNERIACEAE<br/> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' ''Epithema c...")
 
(ล็อก "หูหมี" ([แก้ไข=อนุญาตเฉพาะผู้ดูแลระบบ] (ไม่มีกำหนด) [เปลี่ยนชื่อ=อนุญาตเฉพาะผู้ดูแลระบ...)
 
(ไม่แตกต่าง)

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 15:14, 10 พฤศจิกายน 2558

Epithema carnosa Benth.jpg

วงศ์ GESNERIACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Epithema carnosa Benth.
ชื่อสามัญ
ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ คะน้าป่า สะเมาทะมอ เฒ่านางรุ้ง บูดูบูลัง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ใบหูหมี เป็นผักป่า ใบและก้านใบอวบน้ำ ปัจจุบันไม่ค่อยมีมากนักเป็นพืชที่อยู่ในป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์และมีความชื้นมาก ซึ่งเป็นที่วัดความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่นั้นๆ ส่วนใหญ่พบบริเวณที่มีความลาดชัน และอุดมสมบูรณ์
ประโยชน์ด้านอาหาร นิยมนำยอดอ่อนหรือดอกมาปรุงอาหารรสชาติคล้ายคะน้า
สรรพคุณทางยา

  • รักษาต่อมลูกหมากอักเสบ และขับปัสสาวะ

เพาะขยายพันธุ์

Epithema carnosa Benth 01.jpg Epithema carnosa Benth 02.jpg Epithema carnosa Benth 03.jpg Epithema carnosa Benth 04.jpg