กานพลู

จาก โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชผักป่าพื้นบ้านภาคใต้ที่มีอยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี
รุ่นปรับปรุงเมื่อ 09:45, 10 พฤศจิกายน 2558 โดย Chakkrit (พูดคุย | เรื่องที่เขียน) (ล็อก "กานพลู" ([แก้ไข=อนุญาตเฉพาะผู้ดูแลระบบ] (ไม่มีกำหนด) [เปลี่ยนชื่อ=อนุญาตเฉพาะผู้ดูแลระ...)

(ต่าง) ←รุ่นปรับปรุงก่อนหน้า | รุ่นล่าสุด (ต่าง) | รุ่นปรับปรุงถัดไป→ (ต่าง)

Eugenia aromatica Kuntze.jpg

วงศ์ MYRTACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Syzygium aromaticum Kuntze.
ชื่อสามัญ Clove Tree
ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ ดอกจันทน์
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ใบเดี่ยวสีเขียว แตกกิ่งก้านสาขา กระจายออกเป็นพุ่มดอกสีขาวอมเขียว ออกเป็นช่อ ในดอกกานพลู มีน้ำมันซึ่งมีกลิ่นหอมและรสเผ็ดร้อน
ประโยชน์ด้านอาหาร ยอดอ่อน ใช้ใส่แกง ปลาไหล หรือแกงของป่าที่ต้องการรสเผ็ดร้อน และดับกลิ่นคาว
สรรพคุณทางยา

  • เปลือกต้น แก้ปวดท้อง แก้ลม คุมธาตุ ใบ แก้สะอึก แก้ปวดมวน
  • ดอก แก้ปวดท้อง แก้ท้องเสีย แก้ท้องขึ้น ขับลมในลำไส้ แก้ลม แก้เหน็บชา แก้พิษเลือด น้ำเหลืองและน้ำคาวปลา แก้ธาตุพิการ บำรุงธาตุ ฟอกโลหิต ขับเสมหะ แก้อุจจาระให้ปกติ แก้รัตตะปิตตะโรค แก้หืด กระทำให้อาหารงวด แก้ไอ ระงับกระตุก แก้ปากเหม็น แก้เลือดออกตามไรฟัน ดับกลิ่นเหล้า แก้ปวดฟัน แก้รำมะนาด กระจายลม กระจายเสมหะ ขับลม แก้ท้องขึ้น แก้ปวดท้อง ท้องร่วง แก้ไอ ฆ่าเชื้อโรค แก้ชาปลายมือปลายเท้า แก้โรคลม ระงับปวด ระงับอาการปวดฟัน ทำให้ผิวหนังชา ระงับกระตุก

เพาะขยายพันธุ์

Eugenia aromatica Kuntze 01.jpg Eugenia aromatica Kuntze 02.jpg Eugenia aromatica Kuntze 03.jpg Eugenia aromatica Kuntze 04.jpg