ทำมัง

จาก โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชผักป่าพื้นบ้านภาคใต้ที่มีอยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี
รุ่นปรับปรุงเมื่อ 09:55, 10 พฤศจิกายน 2558 โดย Chakkrit (พูดคุย | เรื่องที่เขียน) (ล็อก "ทำมัง" ([แก้ไข=อนุญาตเฉพาะผู้ดูแลระบบ] (ไม่มีกำหนด) [เปลี่ยนชื่อ=อนุญาตเฉพาะผู้ดูแลระบ...)

(ต่าง) ←รุ่นปรับปรุงก่อนหน้า | รุ่นล่าสุด (ต่าง) | รุ่นปรับปรุงถัดไป→ (ต่าง)

Litsea sp 01.jpg

วงศ์ LAURACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Litsea elliptica Blume
ชื่อสามัญ Litsea
ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ ไท้แมงดา แมงดาต้น ชะมัง กาดสลอง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้ป่ายืนต้นขนาดใหญ่แผ่กิ่งก้านออกเป็นทรงพุ่ม สูง 20-30 เมตร ลำต้นสีน้ำตาลอมเทา ใบ เดี่ยวรูปไข่ยาวรี ขนาดยาว 8-12 เซนติเมตร ดอก ออกเป็นช่อมีขนาดเล็กมาก ออกที่ซอกใบปลายกิ่ง ผล กลมรีฉ่ำน้ำขนาด 1 เซนติเมตร
ประโยชน์ด้านอาหาร ส่วนที่ใช้เป็นยา ยอดอ่อน ใบเพสลาด และใบแก่ช่วยขับลม แก้ท้องอืด : ใช้ใบสดกินเป็นผักเหนาะ หรือ ใส่ในแกงเผ็ด
สรรพคุณทางยา

  • เปลือกต้น ขับผายลม แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ขับลมในลำไส้ บำรุงธาตุ แก้จุกเสียด

เพาะขยายพันธุ์ ใช้เมล็ด

Litsea sp 01.jpg Litsea sp 02.jpg Litsea sp 03.jpg Litsea sp 04.jpg