ดูโค้ดสำหรับ นกเขียวคราม
←
นกเขียวคราม
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[[ไฟล์:Irena puella1.jpg|right]] '''วงศ์''' : Irenidae<br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Irena puella'' (Latham) 1790.<br> '''ชื่อสามัญ''' : Asian Fairy Bluebird<br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : Blue-backed Fairy Bluebird<br> มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Irena puella'' ชื่อชนิดมาจากรากศัพท์ภาษาละตินคือ puell, =a แปลว่าผู้หญิง อาจมีความหมายว่า “นกที่มีลักษณะสวยงามหรือนกที่มีนิสัยสงบเงียบ” พบครั้งแรกที่ประเทศอินเดีย ทั่วโลกมี 6 ชนิดย่อย ประเทศไทยพบ 3 ชนิดย่อย คือ #Irena puela puela (Latham) ที่มาและความหมายของชื่อชนิดย่อยเช่นเดียวกับชื่อชนิด #Irena puella sikkimensis Whostler and Kinnear ชื่อชนิดย่อยดัดแปลงมาจากชื่อสถานที่ที่พบครั้งแรกคือ Sikkim ในรัฐเบงกอล ประเทศอินเดีย #Irena puela malayensis Moore ชื่อชนิดย่อยดัดแปลงมาจากชื่อสถานที่คือประเทศมาเลเซีย พบครั้งแรกที่ Malacca '''กระจายพันธุ์''' <br> ในอินเดีย จีนด้านตะวันตกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หมู่เกาะอันดามัน หมู่เกาะซุนดาใหญ่ และเกาะปาลาวัน '''ลักษณะทั่วไป''' <br> เป็นนกขนาดเล็ก (25 ซม.) ตาสีแดง ตัวผู้มีลำตัว ปีกและหางเป็นสีดำ ลำตัวด้านบนและขนคลุมหางด้านล่างสีน้ำเงินสดใส ตัวเมียสีน้ำเงินคล้ำเกือบตลอดทั้งตัว ขนปลายปีกและขนหาง เป็นสีดำเช่นเดียวกับตัวผู้ '''อุปนิสัยและอาหาร''' <br> อาศัยอยู่ตามป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบแล้ง และป่าดงดิบเขา ตั้งแต่พื้นราบจนกระทั้งความสูง 1,500 เมตรจากระดับน้ำทะเล มักพบอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูงเล็ก ๆ ปกติอาศัยและหากินตามยอดไม้สูง แต่บางครั้งอาจลงมายังไม้พุ่มเตี้ย มักเคลื่อนที่จากกิ่งไม้หนึ่งไปยังอีกกิ่งไม้หนึ่งด้วยการกระโดดหรืออาจบินจากต้นไม้หนึ่งไปยังอีกต้นไม้หนึ่ง ระหว่างการเคลื่อนไหวหรือเคลื่อนที่มักส่งเสียงร้องไปด้วย อาหาร ได้แก่ ผลไม้เนื้ออ่อน เช่น ไทร หว้า ผลของไม้เถา บางชนิด โดยการใช้ปากเด็ดผลออกจากขั้ว แล้วกลืนทั้งผล นอกจากนี้ยังกินน้ำหวานดอกไม้ โดยเฉพาะทองหลางป่า งิ้วป่า กาฝาก และยังหากินหนอนและแมลงตามกิ่งไม้และยอดไม้ ไม่ค่อยพบลงมายังพื้นดิน '''การผสมพันธุ์'''<br> ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนตลอดถึงฤดูฝนระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนกรกฎาคม ทำรังตามกิ่งไม้ที่ค่อนข้างทึบ รังเป็นรูปถ้วยแบนกว้าง อยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 3.0-4.0 เมตรหรือสูงกว่า รังโดยเฉลี่ยมีเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก 14.46 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 8.57 ซม. และลึก 2.56 ซม. (ไกรรัตน์, 2,539) ประกอบด้วยกิ่งไม้เล็ก ๆ ใบไม้ เถาวัลย์ มอส ไลเคน สานเข้าด้วยกันและเชื่อมด้วยใยแมงมุม ตัวเมียตัวเดียวที่สร้างรัง ตัวผู้คอยอยู่ใกล้ ๆ พร้อมกับการส่งเสียงร้อง ซึ่งอาจเป็นการประกาศอาณาเขตไม่ให้นกคู่อื่นหรือตัวอื่นเข้ามาใกล้หรือแย่งสถานที่สร้างรัง '''ไข่''' <br> รังมีไข่ 2 ฟอง หายากที่มี 3 ฟอง ไข่เป็นรูปรี สีขาวอมน้ำตาล มีรอยแต้มสีน้ำตาลเข้มหรือสีม่วง โดยจะมีมากบริเวณไข่ด้านป้าน ขนาดของไข่โดยเฉลี่ย 20.5x28.2 มม. ตัวเมียตัวเดียวที่ฟักไข่ โดยใช้เวลา 16-17 วัน ทั้งสองเพศช่วยกันเลี้ยงดูลูกอ่อน โดยใช้เวลา 15-16 วัน '''สถานภาพ''' <br> เป็นนกประจำถิ่น พบบ่อยและปริมาณปานกลาง ชนิดย่อย sikkimensis พบทางภาคเหนือ ชนิดย่อย puella พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ ภาคตะะวันตก และภาคใต้ตอนบน และชนิดย่อย malayensis พบทางภาคใต้ '''กฎหมาย''' <br> กฎหมายจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ---- <center>[[ไฟล์:Irena puella02.jpg]] [[ไฟล์:Irena puella03.jpg]]</center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ'''<br> https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcR62Htc_ZSpVIso8Zd3oqrF0BHIA5r6QQxE-y6w87H8Bf4y7Hqw5A&s<br> https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcSMzgX2ELnzR6ww-LcopLq9OiAMJvbmPwcnosu2wWjur_a8aqlnrg&s<br> https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/d/db/Asian_fairy_bluebird%40_aralam_wls.jpg<br>
กลับไป
นกเขียวคราม
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
นกกก
นกกระจิบคอดำ
นกกระจิบธรรมดา
นกกระจิบหญ้าสีข้างแดง
นกกระติ๊ดเขียว
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกระเต็นลาย
นกกระเต็นหัวดำ
นกกระเต็นใหญ่ธรรมดา
นกกระเต็นอกขาว
นกกระปูดใหญ่
นกกวัก
นกกางเขนดง
นกกางเขนน้ำหลังแดง
นกกางเขนบ้าน
นกกาฝากก้นเหลือง
นกกาฝากท้องสีส้ม
นกกาฝากอกสีเลือดหมู
นกกาฝากอกเหลือง
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอแดง
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีน้ำตาลแดง
นกกินปลีคอสีม่วง
นกกินปลีท้ายทอยน้ำเงิน
นกกินปลีสีเรียบ
นกกินปลีอกเหลือง
นกกินแมลงคอดำ
นกกินแมลงคอลาย
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าสีน้ำตาลแดง
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกกินแมลงปีกแดง
นกกินแมลงหัวสีน้ำตาล
นกกินแมลงอกเหลือง
นกขมิ้นท้ายทอยดำ
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยปีกสีเรียบ
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกขุนแผนอกสีส้ม
นกเขนน้อยไซบีเรีย
นกเขนน้อยปีกแถบขาว
นกเขาเขียว
นกเขาเปล้าธรรมดา
นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า
นกเขียวก้านตองเล็ก
นกเขียวก้านตองใหญ่
นกเขียวคราม
นกเขียวปากงุ้ม
นกคัคคูหงอน
นกเค้าเหยี่ยว
นกเงือกกรามช้าง
นกเงือกปากดำ
นกเงือกหัวหงอก
นกจอกป่าหัวโต
นกจับแมลงคอแดง
นกจับแมลงจุกดำ
นกจับแมลงปีกน้ำตาลแดง
นกจับแมลงสีคล้ำ
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจาบคาคอสีฟ้า
นกจาบคาหัวเขียว
นกจาบคาหัวสีส้ม
นกจาบดินหัวดำ
นกจาบดินอกลาย
นกชนหิน
นกแซงแซวเล็กเหลือบ
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกเด้าลมดง
นกเดินดงหัวสีส้ม
นกตะขาบดง
นกแต้วแล้วธรรมดา
นกแต้วแล้วลาย
นกแต้วแล้วอกเขียว
นกนางแอ่นแปซิฟิค
นกบั้งรอกเขียวอกแดง
นกบั้งรอกแดง
นกบั้งรอกปากแดง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดทอง
นกปรอดท้องสีเทา
นกปรอดสวน
นกปรอดสีน้ำตาลตาขาว
นกปรอดสีน้ำตาลตาแดง
นกปรอดหงอนตาขาว
นกปรอดหน้านวล
นกปรอดหลังเขียวอกลาย
นกปรอดหลังฟู
นกปรอดเหลืองหัวจุก
นกปรอดอกลายเกล็ด
นกปรอดโอ่งท้องสีน้ำตาล
นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ
นกปรอดโอ่งไร้หงอน
นกปลีกล้วยท้องเทา
นกปลีกล้วยปากหนา
นกปลีกล้วยเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองใหญ่
นกพญาปากกว้างท้องแดง
นกพญาปากกว้างลายเหลือง
นกพญาปากกว้างเล็ก
นกพญาปากกว้างสีดำ
นกพญาไฟสีเทา
นกโพระดกคางแดง
นกโพระดกเคราเหลือง
นกโพระดกหน้าผากดำ
นกมุ่นรกสีน้ำตาล
นกยางกรอกพันธุ์จีน
นกยางกรอกพันธุ์ชวา
นกยางเขียว
นกสีชมพูสวน
นกหกเล็กปากแดง
นกหัวขวานจิ๋วคิ้วขาว
นกหัวขวานจิ๋วอกแดง
นกหัวขวานด่างแคระ
นกหัวขวานแดง
นกหัวขวานป่าไผ่
นกหัวขวานลายตะโพกเหลือง
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
นกเอี้ยงถ้ำ
นกแอ่นตาล
นกแอ่นบ้าน
เหยี่ยวดำท้องขาว
เหยี่ยวท้องแดง
เหยี่ยวปลาเล็กหัวเทา
เหยี่ยวผึ้ง
เหยี่ยวรุ้ง
ปรับปรุงล่าสุด
สุ่มหน้า
วิธีใช้
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า