ดูโค้ดสำหรับ นกคัคคูหงอน
←
นกคัคคูหงอน
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[[ไฟล์:Clamator coromandus01.jpg|right]] '''วงศ์''' : Cuculidae<br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Clamator coromandus'' (Linnaeus) 1766.<br> '''ชื่อสามัญ''' : Chestnut-winged Cuckoo<br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : นกคัดคูหงอนปีกแดง, Red-winged Crested Cuckoo<br> นกคัดคูหงอนมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Clamator coromandus'' ชื่อชนิดดัดแปลงจากชื่อสถานที่ที่พบนกชนิดนี้ครั้งแรกคือชายฝั่ง Coromandel ในประเทศอินเดีย '''กระจายพันธุ์''' <br> ในอินเดีย พม่า จีนตอนใต้ เกาะไหหลํา ไต้หวัน ไทย มาเลเซีย หมู่เกาะซุนดาใหญ่ ฟิลิปปินส์ และเกาะสุลาเวซี '''ลักษณะทั่วไป''' <br> เป็นนกขนาดเล็ก-กลาง (45-46 ซม.) มีปากสีดำเรียวแหลมและโค้งเล็กน้อย หางยาว และเป็นหางบั้ง ตัวเต็มวัยกระหม่อม ท้ายทอย หงอน ขน และลำตัวด้านบนสีดำ ปีกสีน้ำตาลแดง คอด้านบนมีแถบสีขาว ลำตัวด้านล่างสีขาวหม่น บริเวณคอหอยและอกสีเนื้อแกมสีน้ำตาลแดง ขนคลุมโคนขนหาง ด้านล่างสีดำ ตัวไม่เต็มวัยลักษณะคล้ายตัวเต็มวัย แต่ลำตัวด้านบนมีลายคล้ายเกล็ดสีน้ำตาลแดง หัวและหลังสีน้ำตาลเข้ม คอหอยและอกตอนบนสีออกขาว '''อุปนิสัยและอาหาร''' <br> อาศัยอยู่ตามป่าละเมาะซึ่งมีไม้พุ่ม ป่าเบญจพรรณ ป่ารุ่น ป่าไผ่ หรือตามหมู่บ้าน และสวน ตั้งแต่ระดับพื้นราบจนกระทั่งความสูง 1,300 เมตรจากระดับน้ำทะเล มักพบอยู่โดดเดี่ยว หรือเป็นฝูงเล็ก ๆ 3-4 ตัว มันมักหากินและหลบซ่อนบนต้นไม้ที่มีใบค่อนข้างแน่นทึบ บางครั้งก็ลงมาเกาะตามกิ่งไม้พื้นล่างหรือไม้พุ่มเพื่อหาอาหาร นกคัดคูหงอนบินได้ดี เร็ว และตรง มันร้องเป็นเสียงแหลม “ครีก-ครีก-ครีก” คล้ายกับนกปีกลายสก็อตหรือนกขุนแผน ในฤดูผสม พันธุ์จะร้องบ่อย แต่นอกฤดูผสมพันธุ์แทบจะไม่ร้องเลย นกคัดคูหงอนเป็นนกที่ไม่ค่อยปราดเปรียวนักเมื่อเทียบกับนกคัดคู่อื่น อาหารส่วนใหญ่ ได้แก่ ตัวหนอนและแมลงต่าง ๆ ที่เกาะหรือเจาะกิ่งไม้ มันกินอาหารโดยใช้ปากคาบแล้ว กลืนเหยื่อ '''การผสมพันธุ์'''<br> ฤดูผสมพันธุ์ของนกคัดคูหงอนขึ้นอยู่กับฤดูผสมพันธุ์ของนกเจ้าของรังที่มันแอบไปวางไข่ ส่วนใหญ่เป็นนกกะรางสร้อยคอใหญ่ นกกะรางสร้อยคอเล็ก และนกกะรางอื่น ซึ่งวางไข่ในช่วงฤดูร้อนต่อฤดูฝนระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคม '''ไข่''' <br> ไข่ของนกคัดคูหงอนมีรูปร่างค่อนข้างกว้าง คล้ายไข่ของนกเจ้าของรัง สีน้ำเงินจาง ไม่มีลวดลาย มีขนาดเฉลี่ย 22.8x26.9 มม.ปกติมันวางไข่ในรังหนึ่งไม่เกิน 2 ฟอง โดยจะทำลายไข่เจ้าของรังเสีย ก่อนมันจะวางไข่วันละหนึ่งฟองในช่วงสาย หรือหลังจากที่นกเจ้าของรังออกไปหากินแล้ว เมื่อออกไข่แล้ว มันจะทิ้งให้เจ้าของรังฟักไข่และเลี้ยงดูลูกให้โดยไม่สนใจไข่และลูกอ่อนของตนเองอีกต่อไป '''สถานภาพ''' <br> นกคัดคูหงอนเป็นนกที่อพยพมายังประเทศไทยเพื่อผสมพันธุ์วางไข่ แต่บางส่วนเป็นนกอพยพผ่านและนกอพยพมาช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ พบไม่บ่อยและปริมาณไม่มากนักทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก ภาคกลาง และภาคใต้ '''กฎหมาย''' <br> กฎหมายจัดนกคัดคูหงอนปีกแดงเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ---- <center>[[ไฟล์:Clamator coromandus02.jpg]] [[ไฟล์:Clamator coromandus03.jpg]]</center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ'''<br> https://www.birdsofthailand.org/sites/default/files/photo/image_1671.jpg<br> https://i.ytimg.com/vi/uZAXy6Rckww/hqdefault.jpg<br> https://dktnfe.com/web59/wp-content/uploads/2014/09/chestnutwinged_cuckooaaf_3028.jpg<br>
กลับไป
นกคัคคูหงอน
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
นกกก
นกกระจิบคอดำ
นกกระจิบธรรมดา
นกกระจิบหญ้าสีข้างแดง
นกกระติ๊ดเขียว
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกระเต็นลาย
นกกระเต็นหัวดำ
นกกระเต็นใหญ่ธรรมดา
นกกระเต็นอกขาว
นกกระปูดใหญ่
นกกวัก
นกกางเขนดง
นกกางเขนน้ำหลังแดง
นกกางเขนบ้าน
นกกาฝากก้นเหลือง
นกกาฝากท้องสีส้ม
นกกาฝากอกสีเลือดหมู
นกกาฝากอกเหลือง
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอแดง
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีน้ำตาลแดง
นกกินปลีคอสีม่วง
นกกินปลีท้ายทอยน้ำเงิน
นกกินปลีสีเรียบ
นกกินปลีอกเหลือง
นกกินแมลงคอดำ
นกกินแมลงคอลาย
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าสีน้ำตาลแดง
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกกินแมลงปีกแดง
นกกินแมลงหัวสีน้ำตาล
นกกินแมลงอกเหลือง
นกขมิ้นท้ายทอยดำ
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยปีกสีเรียบ
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกขุนแผนอกสีส้ม
นกเขนน้อยไซบีเรีย
นกเขนน้อยปีกแถบขาว
นกเขาเขียว
นกเขาเปล้าธรรมดา
นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า
นกเขียวก้านตองเล็ก
นกเขียวก้านตองใหญ่
นกเขียวคราม
นกเขียวปากงุ้ม
นกคัคคูหงอน
นกเค้าเหยี่ยว
นกเงือกกรามช้าง
นกเงือกปากดำ
นกเงือกหัวหงอก
นกจอกป่าหัวโต
นกจับแมลงคอแดง
นกจับแมลงจุกดำ
นกจับแมลงปีกน้ำตาลแดง
นกจับแมลงสีคล้ำ
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจาบคาคอสีฟ้า
นกจาบคาหัวเขียว
นกจาบคาหัวสีส้ม
นกจาบดินหัวดำ
นกจาบดินอกลาย
นกชนหิน
นกแซงแซวเล็กเหลือบ
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกเด้าลมดง
นกเดินดงหัวสีส้ม
นกตะขาบดง
นกแต้วแล้วธรรมดา
นกแต้วแล้วลาย
นกแต้วแล้วอกเขียว
นกนางแอ่นแปซิฟิค
นกบั้งรอกเขียวอกแดง
นกบั้งรอกแดง
นกบั้งรอกปากแดง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดทอง
นกปรอดท้องสีเทา
นกปรอดสวน
นกปรอดสีน้ำตาลตาขาว
นกปรอดสีน้ำตาลตาแดง
นกปรอดหงอนตาขาว
นกปรอดหน้านวล
นกปรอดหลังเขียวอกลาย
นกปรอดหลังฟู
นกปรอดเหลืองหัวจุก
นกปรอดอกลายเกล็ด
นกปรอดโอ่งท้องสีน้ำตาล
นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ
นกปรอดโอ่งไร้หงอน
นกปลีกล้วยท้องเทา
นกปลีกล้วยปากหนา
นกปลีกล้วยเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองใหญ่
นกพญาปากกว้างท้องแดง
นกพญาปากกว้างลายเหลือง
นกพญาปากกว้างเล็ก
นกพญาปากกว้างสีดำ
นกพญาไฟสีเทา
นกโพระดกคางแดง
นกโพระดกเคราเหลือง
นกโพระดกหน้าผากดำ
นกมุ่นรกสีน้ำตาล
นกยางกรอกพันธุ์จีน
นกยางกรอกพันธุ์ชวา
นกยางเขียว
นกสีชมพูสวน
นกหกเล็กปากแดง
นกหัวขวานจิ๋วคิ้วขาว
นกหัวขวานจิ๋วอกแดง
นกหัวขวานด่างแคระ
นกหัวขวานแดง
นกหัวขวานป่าไผ่
นกหัวขวานลายตะโพกเหลือง
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
นกเอี้ยงถ้ำ
นกแอ่นตาล
นกแอ่นบ้าน
เหยี่ยวดำท้องขาว
เหยี่ยวท้องแดง
เหยี่ยวปลาเล็กหัวเทา
เหยี่ยวผึ้ง
เหยี่ยวรุ้ง
ปรับปรุงล่าสุด
สุ่มหน้า
วิธีใช้
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า