ดูโค้ดสำหรับ นกเงือกปากดำ
←
นกเงือกปากดำ
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[[ไฟล์:Anorrhinus galeritus01.jpg|right]] '''วงศ์''' : Bucerotidae<br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Anorrhinus galeritus'' (Temminck) 1831.<br> '''ชื่อสามัญ''' : Bushy-crested Hornbill<br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : -<br> นกเงือกปากดำมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Anorrhinus galeritus'' ชื่อชนิดมาจากรากศัพท์ภาษาละตินคือ galer หรือ galerus แปลว่าหมวกหรือกระหม่อม และ -tus เป็นคำลงท้าย ความหมายคือ “นกที่มีขนปกคลุมกระ หม่อมเด่นชัด” พบครั้งแรกที่เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ทั่วโลกมีนกเงือกปากดำ 3 ชนิดย่อย ประเทศไทยพบ 1 ชนิดย่อย คือ Anorrhinus galeritus carinatus (Blyth) ชื่อชนิดย่อยมาจากรากศัพท์ภาษาละตินคือ carin, =a แปลว่ากระดูกงูของเรือ หรือร่อง และ -tus เป็นคำลงท้าย ความหมายคือ “ปากมีลายเป็นร่องหรือคล้ายกระดูกงูเรือ” พบชนิดย่อยนี้ครั้งแรกที่ประเทศมาเลเซีย '''กระจายพันธุ์''' <br> ในพม่า ไทย มาเลเซีย เกาะสุมาตรา และเกาะบอร์เนียว '''ลักษณะทั่วไป''' <br> เป็นนกขนาดใหญ่ (87-89 ซม.) ตัวเต็มวัยตัวผู้ลำตัวสีดำ หัวมีหงอนขนสีดำ ปากสีดำประมาณสองในสามของหางเป็นสีเทาแกมน้ำตาล ปลายหางสีดำ ตัวเมียต่างจากตัวผู้ตรงที่โหนกแข็งเล็กกว่า ของตัวผู้ผิวหนังบริเวณคอหอยสีน้ำเงิน วงรอบเบ้าตาสีน้ำเงินหรือขาว บางตัวปากเป็นสีงาช้าง ตัวไม่เต็มวัยลำตัวมีลายแต้มสีน้ำตาล ท้องสีขาว '''อุปนิสัยและอาหาร''' <br> อาศัยอยู่ตามป่าดงดิบชื้น ตั้งแต่ระดับพื้นราบจนกระทั่งความสูง 1,200 เมตรจากระดับน้ำทะเล ช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์มักพบเป็นฝูงเล็ก ๆ แต่ช่วงฤดูผสมพันธุ์พบอยู่โดดเดี่ยวหรือเป็นคู่ นกเงือกปากดำร้องเสียงแหลมและดังไปไกลอาหาร ได้แก่ ผลไม้ โดยเฉพาะลูกไทร ลูกหว้า และลูกตาเสือ นอกจากนี้มันยังกินสัตว์ขนาดเล็กที่อยู่ตามพื้นดิน เช่น หนู กิ้งก่า ปู เป็นต้น '''การผสมพันธุ์'''<br> นกเงือกปากดำผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม มันทำรังตามโพรงต้นไม้ ชีววิทยาการสืบพันธุ์อื่นไม่แตกต่างจากนกเงือกสีน้ำตาล ยกเว้นไข่ของนกเงือกปากดำมีขนาดใหญ่กว่า นกเงือกปากดำมีพฤติกรรมอย่างหนึ่งที่คล้ายคลึง กับนกเงือกสีน้ำตาล คือในช่วงที่ตัวเมียและลูกนกยังอยู่ในโพรง จะมีนกเงือกปากดำอย่างน้อย 3 ตัว และอาจมากถึง 5 ตัว ช่วยพ่อนกหาอาหารมาป้อนตัวเมียและลูกนก พวกมันจะสลับกันป้อนอาหารเกือบตลอดทั้งวัน แต่ที่แตกต่างจากนกเงือกสีน้ำตาลคือตัวที่มาช่วยมีทั้งตัวผู้และตัวเมีย ยังไม่ทราบรายละเอียดเกี่ยว กับชีววิทยาการสืบพันธุ์แบบนี้ชัดเจนนัก ตัวที่มาช่วยอาจเป็นนกในครอบครัวเดียวกันที่เกิดเมื่อ 1-2 ปีก่อน หรืออาจเป็นตัวผู้หรือตัวเมียอื่นที่ยังไม่ได้ผสมพันธุ์ในฤดูผสมพันธุ์นั้น '''สถานภาพ''' <br> นกเงือกปากดำเป็นนกประจำถิ่น พบไม่บ่อยและปริมาณไม่มากนัก พบเฉพาะทางภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดนครศรีธรรมราชจนถึงใต้สุดของประเทศ '''กฎหมาย''' <br> กฎหมายจัดนกเงือกปากดำเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง Humphrey and Bain (1990) จัดเป็นสัตว์ที่มีแนวโน้มจะสูญพันธุ์ ---- <center>[[ไฟล์:Anorrhinus galeritus02.jpg]] [[ไฟล์:Anorrhinus galeritus03.jpg]]</center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ'''<br> http://hornbill.or.th/wp-content/uploads/2018/01/Bushy-crested-Hornbill01.jpg<br> https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcSVtZ-uMtK2Kr9sQkGSz2gP37TjBweXaUetjPUEznGfeeJKW3zgLA&s<br> https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcRdi_oi0fuHcL2YY8NV6CSyUWYUeZlmTIuWKJo6LPyy94dgjH_b_Q&s<br>
กลับไป
นกเงือกปากดำ
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
นกกก
นกกระจิบคอดำ
นกกระจิบธรรมดา
นกกระจิบหญ้าสีข้างแดง
นกกระติ๊ดเขียว
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกระเต็นลาย
นกกระเต็นหัวดำ
นกกระเต็นใหญ่ธรรมดา
นกกระเต็นอกขาว
นกกระปูดใหญ่
นกกวัก
นกกางเขนดง
นกกางเขนน้ำหลังแดง
นกกางเขนบ้าน
นกกาฝากก้นเหลือง
นกกาฝากท้องสีส้ม
นกกาฝากอกสีเลือดหมู
นกกาฝากอกเหลือง
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอแดง
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีน้ำตาลแดง
นกกินปลีคอสีม่วง
นกกินปลีท้ายทอยน้ำเงิน
นกกินปลีสีเรียบ
นกกินปลีอกเหลือง
นกกินแมลงคอดำ
นกกินแมลงคอลาย
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าสีน้ำตาลแดง
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกกินแมลงปีกแดง
นกกินแมลงหัวสีน้ำตาล
นกกินแมลงอกเหลือง
นกขมิ้นท้ายทอยดำ
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยปีกสีเรียบ
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกขุนแผนอกสีส้ม
นกเขนน้อยไซบีเรีย
นกเขนน้อยปีกแถบขาว
นกเขาเขียว
นกเขาเปล้าธรรมดา
นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า
นกเขียวก้านตองเล็ก
นกเขียวก้านตองใหญ่
นกเขียวคราม
นกเขียวปากงุ้ม
นกคัคคูหงอน
นกเค้าเหยี่ยว
นกเงือกกรามช้าง
นกเงือกปากดำ
นกเงือกหัวหงอก
นกจอกป่าหัวโต
นกจับแมลงคอแดง
นกจับแมลงจุกดำ
นกจับแมลงปีกน้ำตาลแดง
นกจับแมลงสีคล้ำ
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจาบคาคอสีฟ้า
นกจาบคาหัวเขียว
นกจาบคาหัวสีส้ม
นกจาบดินหัวดำ
นกจาบดินอกลาย
นกชนหิน
นกแซงแซวเล็กเหลือบ
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกเด้าลมดง
นกเดินดงหัวสีส้ม
นกตะขาบดง
นกแต้วแล้วธรรมดา
นกแต้วแล้วลาย
นกแต้วแล้วอกเขียว
นกนางแอ่นแปซิฟิค
นกบั้งรอกเขียวอกแดง
นกบั้งรอกแดง
นกบั้งรอกปากแดง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดทอง
นกปรอดท้องสีเทา
นกปรอดสวน
นกปรอดสีน้ำตาลตาขาว
นกปรอดสีน้ำตาลตาแดง
นกปรอดหงอนตาขาว
นกปรอดหน้านวล
นกปรอดหลังเขียวอกลาย
นกปรอดหลังฟู
นกปรอดเหลืองหัวจุก
นกปรอดอกลายเกล็ด
นกปรอดโอ่งท้องสีน้ำตาล
นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ
นกปรอดโอ่งไร้หงอน
นกปลีกล้วยท้องเทา
นกปลีกล้วยปากหนา
นกปลีกล้วยเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองใหญ่
นกพญาปากกว้างท้องแดง
นกพญาปากกว้างลายเหลือง
นกพญาปากกว้างเล็ก
นกพญาปากกว้างสีดำ
นกพญาไฟสีเทา
นกโพระดกคางแดง
นกโพระดกเคราเหลือง
นกโพระดกหน้าผากดำ
นกมุ่นรกสีน้ำตาล
นกยางกรอกพันธุ์จีน
นกยางกรอกพันธุ์ชวา
นกยางเขียว
นกสีชมพูสวน
นกหกเล็กปากแดง
นกหัวขวานจิ๋วคิ้วขาว
นกหัวขวานจิ๋วอกแดง
นกหัวขวานด่างแคระ
นกหัวขวานแดง
นกหัวขวานป่าไผ่
นกหัวขวานลายตะโพกเหลือง
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
นกเอี้ยงถ้ำ
นกแอ่นตาล
นกแอ่นบ้าน
เหยี่ยวดำท้องขาว
เหยี่ยวท้องแดง
เหยี่ยวปลาเล็กหัวเทา
เหยี่ยวผึ้ง
เหยี่ยวรุ้ง
ปรับปรุงล่าสุด
สุ่มหน้า
วิธีใช้
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า