ดูโค้ดสำหรับ นกแต้วแล้วลาย
←
นกแต้วแล้วลาย
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[[ไฟล์:Pitta guajana01.jpg|right]] '''วงศ์''' : Pittidae<br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Pitta guajana'' (Müller) 1776.<br> '''ชื่อสามัญ''' : Banded Pitta<br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : Blue-tailed Pitta<br> มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Pitta guajana'' ชื่อชนิดดัดแปลงมาจากชื่อสถานที่คือ Guianas ในเขตร้อนของอเมริกา ซึ่งเป็นการเข้าใจผิดเพราะนกชนิดนี้มีกระจายพันธุ์เฉพาะในทวีปเอเชียตอนใต้เท่านั้น ทั่วโลกมี 6 ชนิดย่อย ประเทศไทยพบ 1 ชนิดย่อย คือ Pitta guajana ripleyi Deignan ชื่อชนิดย่อยดัดแปลงมาจากชื่อของบุคคล พบครั้งแรกที่จังหวัดตรัง '''กระจายพันธุ์''' <br> ในไทย มาเลเซีย และหมู่เกาะซุนดาใหญ่ '''ลักษณะทั่วไป''' <br> เป็นนกขนาดเล็ก (22-23 ซม.) ตัวผู้บริเวณหัวเป็นสีดำ มีลายพาดขนาดใหญ่สีเหลือง ลากจากเหนือตาไปจนถึงท้ายทอย แต่ตรงท้ายทอยจะกลายเป็นสีส้มแดง ลำตัวด้านบนสีน้ำตาลหรือน้ำตาลเหลือง โดยบริเวณหางและขนคลุมโคนขนหางด้านบนสีน้ำเงิน มีลายพาดขนาดใหญ่สีขาวที่ขนคลุมขนปีก คอหอยสีขาวจนถึงสีเหลืองซีด ลำตัวด้านล่างสีน้ำเงินเข้ม อาจมองเห็นเป็นสีดำ มีลายพาดขวางสีส้มทางด้านข้างเด่นชัด ตัวเมียลักษณะคล้ายตัวผู้ แต่สีเหลืองและส้มแดงเหนือตาและท้ายทอยจางกว่า ลำตัวด้านล่างสีขาวมีลายขวางสีน้ำตาลแกมสีเนื้อและสีดำ อกจะมีสีส้มจาง ๆ ตัวไม่เต็มวัยเป็นสีน้ำตาล หัวมีคิ้วและท้ายทอยสีเหลือง กระหม่อมสีดำมีลายจุดสีเหลือง ปีกมีลายขีดสีขาวเช่นเดียวกับตัวเต็มวัย หางสีน้ำเงิน คอหอยสีขาว อกมีลายจุดสีเหลือง และมีลายขีดสีเหลืองบริเวณท้อง '''อุปนิสัยและอาหาร''' <br> อาศัยอยู่ตามป่าดงดิบชื้นตั้ง แต่พื้นราบจนกระทั่งความสูง 600 เมตรจากระดับน้ำทะเล ส่วนใหญ่หากินตามพื้นดิน อาหาร ได้แก่ ไส้เดือน มด ปลวก และสัตว์ขนาดเล็ก มักเกาะตามกิ่งไม้เตี้ย ๆ หรือกิ่งของพุ่มไม้มากกว่านกแต้วแร้วชนิดอื่น ค่อนข้างจะปราดเปรียว เมื่อตกใจหรือเมื่อมีศัตรูจะกระโดดหนีไปหลบซ่อนค่อนข้างเร็ว ทำให้มองเห็นตัวได้ค่อนข้างยาก ยกเว้นช่วงทำรังวางไข่และเลี้ยงดูลูกอ่อน '''การผสมพันธุ์'''<br> ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูฝนระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคม ทำรังตามโคนของไม้พุ่ม หรือบนพืชที่มีหนาม โดยเฉพาะกอหวายและระกำ รังเป็นรูปทรงกลม มีทางเข้าออกทางด้านหน้า รังมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 20 ซม. วัสดุที่ใช้ที่รังประกอบด้วยกิ่งไม้และใบไม้แห้ง '''ไข่''' <br> รังมีไข่ 3-4 ฟอง ขนาดของไข่โดยเฉลี่ย 22.0x26.0 มม. ทั้งสองเพศช่วยกันทำรัง ช่วยกันฟักไข่โดยใช้เวลา 14-15 วัน และช่วยกันเลี้ยงดูลูกอ่อน ลูกอ่อนจะอยู่ในรังประมาณ 10-14 วัน จากนั้นจะติดตามพ่อแม่ไปหาอาหาร และไม่กลับมารังอีก '''สถานภาพ''' <br> เป็นนกประจำถิ่น พบบ่อยและปริมาณปานกลาง พบเฉพาะทางภาคใต้ '''กฎหมาย''' <br> กฎหมายจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ---- <center>[[ไฟล์:Pitta guajana02.jpg]] [[ไฟล์:Pitta guajan0a3.jpg]]</center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ'''<br> https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcSkRSyNj53Z2uzowmA-sT2BnOf00BxfDyTWooZcrj7qipBQUgObLg&s<br> https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcS7WZRAxcL6IP_nlP3VaHAY0hfgAn8X7BFr9l5620jMhO8Kb9Vr&s<br> https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcRIu0k1_YtreRM8NSh9QVpsNVhS0EtjdvOrn7PGGOgD9Cw5ViOa&s<br>
กลับไป
นกแต้วแล้วลาย
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
นกกก
นกกระจิบคอดำ
นกกระจิบธรรมดา
นกกระจิบหญ้าสีข้างแดง
นกกระติ๊ดเขียว
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกระเต็นลาย
นกกระเต็นหัวดำ
นกกระเต็นใหญ่ธรรมดา
นกกระเต็นอกขาว
นกกระปูดใหญ่
นกกวัก
นกกางเขนดง
นกกางเขนน้ำหลังแดง
นกกางเขนบ้าน
นกกาฝากก้นเหลือง
นกกาฝากท้องสีส้ม
นกกาฝากอกสีเลือดหมู
นกกาฝากอกเหลือง
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอแดง
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีน้ำตาลแดง
นกกินปลีคอสีม่วง
นกกินปลีท้ายทอยน้ำเงิน
นกกินปลีสีเรียบ
นกกินปลีอกเหลือง
นกกินแมลงคอดำ
นกกินแมลงคอลาย
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าสีน้ำตาลแดง
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกกินแมลงปีกแดง
นกกินแมลงหัวสีน้ำตาล
นกกินแมลงอกเหลือง
นกขมิ้นท้ายทอยดำ
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยปีกสีเรียบ
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกขุนแผนอกสีส้ม
นกเขนน้อยไซบีเรีย
นกเขนน้อยปีกแถบขาว
นกเขาเขียว
นกเขาเปล้าธรรมดา
นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า
นกเขียวก้านตองเล็ก
นกเขียวก้านตองใหญ่
นกเขียวคราม
นกเขียวปากงุ้ม
นกคัคคูหงอน
นกเค้าเหยี่ยว
นกเงือกกรามช้าง
นกเงือกปากดำ
นกเงือกหัวหงอก
นกจอกป่าหัวโต
นกจับแมลงคอแดง
นกจับแมลงจุกดำ
นกจับแมลงปีกน้ำตาลแดง
นกจับแมลงสีคล้ำ
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจาบคาคอสีฟ้า
นกจาบคาหัวเขียว
นกจาบคาหัวสีส้ม
นกจาบดินหัวดำ
นกจาบดินอกลาย
นกชนหิน
นกแซงแซวเล็กเหลือบ
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกเด้าลมดง
นกเดินดงหัวสีส้ม
นกตะขาบดง
นกแต้วแล้วธรรมดา
นกแต้วแล้วลาย
นกแต้วแล้วอกเขียว
นกนางแอ่นแปซิฟิค
นกบั้งรอกเขียวอกแดง
นกบั้งรอกแดง
นกบั้งรอกปากแดง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดทอง
นกปรอดท้องสีเทา
นกปรอดสวน
นกปรอดสีน้ำตาลตาขาว
นกปรอดสีน้ำตาลตาแดง
นกปรอดหงอนตาขาว
นกปรอดหน้านวล
นกปรอดหลังเขียวอกลาย
นกปรอดหลังฟู
นกปรอดเหลืองหัวจุก
นกปรอดอกลายเกล็ด
นกปรอดโอ่งท้องสีน้ำตาล
นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ
นกปรอดโอ่งไร้หงอน
นกปลีกล้วยท้องเทา
นกปลีกล้วยปากหนา
นกปลีกล้วยเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองใหญ่
นกพญาปากกว้างท้องแดง
นกพญาปากกว้างลายเหลือง
นกพญาปากกว้างเล็ก
นกพญาปากกว้างสีดำ
นกพญาไฟสีเทา
นกโพระดกคางแดง
นกโพระดกเคราเหลือง
นกโพระดกหน้าผากดำ
นกมุ่นรกสีน้ำตาล
นกยางกรอกพันธุ์จีน
นกยางกรอกพันธุ์ชวา
นกยางเขียว
นกสีชมพูสวน
นกหกเล็กปากแดง
นกหัวขวานจิ๋วคิ้วขาว
นกหัวขวานจิ๋วอกแดง
นกหัวขวานด่างแคระ
นกหัวขวานแดง
นกหัวขวานป่าไผ่
นกหัวขวานลายตะโพกเหลือง
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
นกเอี้ยงถ้ำ
นกแอ่นตาล
นกแอ่นบ้าน
เหยี่ยวดำท้องขาว
เหยี่ยวท้องแดง
เหยี่ยวปลาเล็กหัวเทา
เหยี่ยวผึ้ง
เหยี่ยวรุ้ง
ปรับปรุงล่าสุด
สุ่มหน้า
วิธีใช้
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า