ดูโค้ดสำหรับ นกกระเต็นลาย
←
นกกระเต็นลาย
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[[ไฟล์:Lacedo pulchella01.jpg|right]] '''วงศ์''' : Halcyonidae<br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Lacedo pulchella'' (Horsfield) 1821.<br> '''ชื่อสามัญ''' : Banded Kingfisher<br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : -<br> นกกระเต็นลายมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Lacedo pulchella'' ชื่อชนิดมาจากรากศัพท์ภาษาละตินคือ pulch, -ell, =er,- r แปลว่าสวยงาม ชื่อชนิดจึงมีความหมายว่า “นกที่มีสีสันสวยงาม” พบครั้งแรกที่เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ทั่วโลกมีนกกระเต็นลาย 4 ชนิดย่อย ประเทศไทยพบ 3 ชนิดย่อย คือ #Lacedo pulchella pulchella (Horsfield) ชื่อชนิดย่อยมีที่มาและความหมายเช่นเดียวกับชื่อชนิด #Lacedo pulchella amabilis (Hume) ชื่อชนิดย่อยมาจากรากศัพท์ภาษาละตินคือ amabil, -i แปลว่าน่ารัก ความหมายคือ “นกที่มีสีสันสวยงามน่ารัก” พบชนิดย่อยนี้ครั้งแรกที่ประเทศพม่า #Lacedo pulchella deignani Meyer de Schauensee ชื่อชนิดย่อยดัดแปลงจากชื่อของบุคคล พบชนิดย่อยนี้ครั้งแรกที่จังหวัดนครศรีธรรมราช '''กระจายพันธุ์''' <br> ในพม่า ไทย ตอนใต้ของประเทศลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และหมู่เกาะซุนดาใหญ่ '''ลักษณะทั่วไป''' <br> เป็นนกขนาดเล็ก (22-23 ซม.) มีปากสีแดง ตัวผู้และตัวเมียสีสันแตกต่างกันเล็กน้อย ตัวผู้บริเวณหน้าผากสีน้ำตาลแดง กระหม่อมและท้ายทอยเป็นสีน้ำเงินสด มีลายเล็ก ๆ สีขาว ลำตัวด้านบนสีดำมีลายแถบสีน้ำเงิน ในแถบมีสีขาวแซม ลำตัวด้านล่างสีออกขาว บริเวณอกและสีข้างสีน้ำตาลเหลืองถึงสีเนื้อ ตัวเมียลำตัวด้านบนเป็นลายสีน้ำตาลเหลืองสลับดำ ลำตัวด้านล่างสีขาว บริเวณอกและสีข้างมีลายเล็ก ๆ สีออกดำ '''อุปนิสัยและอาหาร''' <br> อาศัยอยู่ตามป่าเบญจพรรณและป่าดงดิบชื้น ตั้งแต่ระดับพื้นราบจนกระทั่งความสูง 1,100 เมตรจากระดับน้ำทะเล พบอยู่โดดเดี่ยวหรือเป็นคู่ มักส่งเสียงร้อง ซึ่งอาจเป็นการร้องเพื่อประกาศ อาณาเขตหรือดึงดูดเพศตรงข้ามในฤดูผสมพันธุ์ ทำให้สังเกตเห็นนกได้ง่ายขึ้น นกกระเต็นลายกินแมลงเป็นส่วนใหญ่ เช่น จักจั่น ตั๊กแตน ตกแตนกิ่งไม้ จิ้งหรีด เป็นต้น บางครั้งมันก็กินพวกกิ้งก่า ซึ่งค่อนข้างแตกต่างจากนกกระเต็นชนิด อื่นที่ส่วนใหญ่กินปลาหรือสัตว์น้ำ นกกระเต็นลายหาอาหารด้วยการโฉบจับกลางอากาศ แต่ส่วนใหญ่มันจะจับแมลงตามกิ่งไม้และต้นไม้ บางครั้งมันใช้ปากเคาะกิ่งไม้ให้แมลงออกมา ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่คล้ายคลึงกับพวกนกหัวขวานมาก '''การผสมพันธุ์'''<br> นกกระเต็นลายผสมพันธุ์ในช่วงฤดูหนาวต่อฤดูร้อนระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน Delacour (1947) รายงานว่านกกระเด็นลายทำรังในโพรงดินตามฝั่งแม่น้ำหรือทำรังตามโพรงไม้ที่เป็นรังเก่าของปลวก Smythies (1981) ก็รายงานไว้เช่นกันว่านกกระเต็นลายทรังตามโพรงของต้นไม้ผุที่อยู่สูงจากพื้นดิน 3-4 เมตร ปัจจุบันยังไม่ทราบชีววิทยาการสืบพันธุ์อื่นแน่ชัด เข้าใจว่าคงไม่แตกต่างจากนกกระเต็นชนิดอื่นแม้จะจัดอยู่ต่างสกุลกัน '''สถานภาพ''' <br> นกกระเต็นลายเป็นนกประจำถิ่น พบไม่บ่อยและปริมาณไม่มากนัก ชนิดย่อย pulchela พบเฉพาะทางภาคใต้ตอนใต้ ที่จังหวัดสงขลาและจังหวัดนราธิวาส ชนิดย่อย amabilis พบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ ภาคตะวันตก และบางแห่งของภาคกลาง ชนิดย่อย deignani พบทางภาคใต้ตั้งแต่คอคอดกระลงไปจนถึงจังหวัดตรัง '''กฎหมาย''' <br> กฎหมายจัดนกกระเต็นลายทุกชนิดย่อยเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ---- <center>[[ไฟล์:Lacedo pulchell0a2.jpg]] [[ไฟล์:Lacedo pulchella03.jpg]]</center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ'''<br> https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcRTGNktZtDzkyMPv1XX7PlFwwYmeInydoBt54LOGeTrCZtItSuc&s<br> https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcTT1XtZMCVSANNBNR-IwukHQ9Bg8_ryG__991IYEK0OYvKOM_1uDg&s<br> https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcSnR522HW74ltC3rewb8VHIb1ESf9xjrntzj_vyBRAJ4BJR_ADxsw&s<br>
กลับไป
นกกระเต็นลาย
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
นกกก
นกกระจิบคอดำ
นกกระจิบธรรมดา
นกกระจิบหญ้าสีข้างแดง
นกกระติ๊ดเขียว
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกระเต็นลาย
นกกระเต็นหัวดำ
นกกระเต็นใหญ่ธรรมดา
นกกระเต็นอกขาว
นกกระปูดใหญ่
นกกวัก
นกกางเขนดง
นกกางเขนน้ำหลังแดง
นกกางเขนบ้าน
นกกาฝากก้นเหลือง
นกกาฝากท้องสีส้ม
นกกาฝากอกสีเลือดหมู
นกกาฝากอกเหลือง
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอแดง
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีน้ำตาลแดง
นกกินปลีคอสีม่วง
นกกินปลีท้ายทอยน้ำเงิน
นกกินปลีสีเรียบ
นกกินปลีอกเหลือง
นกกินแมลงคอดำ
นกกินแมลงคอลาย
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าสีน้ำตาลแดง
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกกินแมลงปีกแดง
นกกินแมลงหัวสีน้ำตาล
นกกินแมลงอกเหลือง
นกขมิ้นท้ายทอยดำ
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยปีกสีเรียบ
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกขุนแผนอกสีส้ม
นกเขนน้อยไซบีเรีย
นกเขนน้อยปีกแถบขาว
นกเขาเขียว
นกเขาเปล้าธรรมดา
นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า
นกเขียวก้านตองเล็ก
นกเขียวก้านตองใหญ่
นกเขียวคราม
นกเขียวปากงุ้ม
นกคัคคูหงอน
นกเค้าเหยี่ยว
นกเงือกกรามช้าง
นกเงือกปากดำ
นกเงือกหัวหงอก
นกจอกป่าหัวโต
นกจับแมลงคอแดง
นกจับแมลงจุกดำ
นกจับแมลงปีกน้ำตาลแดง
นกจับแมลงสีคล้ำ
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจาบคาคอสีฟ้า
นกจาบคาหัวเขียว
นกจาบคาหัวสีส้ม
นกจาบดินหัวดำ
นกจาบดินอกลาย
นกชนหิน
นกแซงแซวเล็กเหลือบ
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกเด้าลมดง
นกเดินดงหัวสีส้ม
นกตะขาบดง
นกแต้วแล้วธรรมดา
นกแต้วแล้วลาย
นกแต้วแล้วอกเขียว
นกนางแอ่นแปซิฟิค
นกบั้งรอกเขียวอกแดง
นกบั้งรอกแดง
นกบั้งรอกปากแดง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดทอง
นกปรอดท้องสีเทา
นกปรอดสวน
นกปรอดสีน้ำตาลตาขาว
นกปรอดสีน้ำตาลตาแดง
นกปรอดหงอนตาขาว
นกปรอดหน้านวล
นกปรอดหลังเขียวอกลาย
นกปรอดหลังฟู
นกปรอดเหลืองหัวจุก
นกปรอดอกลายเกล็ด
นกปรอดโอ่งท้องสีน้ำตาล
นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ
นกปรอดโอ่งไร้หงอน
นกปลีกล้วยท้องเทา
นกปลีกล้วยปากหนา
นกปลีกล้วยเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองใหญ่
นกพญาปากกว้างท้องแดง
นกพญาปากกว้างลายเหลือง
นกพญาปากกว้างเล็ก
นกพญาปากกว้างสีดำ
นกพญาไฟสีเทา
นกโพระดกคางแดง
นกโพระดกเคราเหลือง
นกโพระดกหน้าผากดำ
นกมุ่นรกสีน้ำตาล
นกยางกรอกพันธุ์จีน
นกยางกรอกพันธุ์ชวา
นกยางเขียว
นกสีชมพูสวน
นกหกเล็กปากแดง
นกหัวขวานจิ๋วคิ้วขาว
นกหัวขวานจิ๋วอกแดง
นกหัวขวานด่างแคระ
นกหัวขวานแดง
นกหัวขวานป่าไผ่
นกหัวขวานลายตะโพกเหลือง
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
นกเอี้ยงถ้ำ
นกแอ่นตาล
นกแอ่นบ้าน
เหยี่ยวดำท้องขาว
เหยี่ยวท้องแดง
เหยี่ยวปลาเล็กหัวเทา
เหยี่ยวผึ้ง
เหยี่ยวรุ้ง
ปรับปรุงล่าสุด
สุ่มหน้า
วิธีใช้
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า