ดูโค้ดสำหรับ นกแอ่นตาล
←
นกแอ่นตาล
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[[ไฟล์:Cypsiurus_balasiensis01.JPG|right]] '''วงศ์''' : Apodidae <br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Cypsiurus balasiensis'' (Gray) 1829.<br> '''ชื่อสามัญ''' : Asian palm swift<br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : Palm swift<br> นกแอ่นตาลมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Cypsiurus balasiensis'' ชื่อชนิดดัดแปลงจากชื่อเมืองหนึ่งในรัฐเบงกอล ประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นสถานที่ที่พบครั้งแรกแต่เดิมนกแอ่นตาลที่พบในประเทศไทยมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cypsiurus parvus (Lichtenstein) ซึ่งเป็นชนิดเดียวกับนกแอ่นตาลในแอฟริกา (African Palm Swift) แต่ King et al. (1975) ใช้ชื่อว่า Cypsiurus balasiensis โดยอ้างตาม Brooke (1970) ในหนังสือเล่มนี้ใช้ชื่อเช่นเดียวกับ King et al. (1975), Howard and Moore (1980), Sibley and Monroe (1990), Lekagul and Round (1991) และ Inskipp et al. (1996) ทั่วโลกมีนกแอ่นตาล 3 ชนิดย่อย ประเทศไทยพบ 1 ชนิดย่อย คือ Cypsiurus balasiensis infumatus (Sclater) ชื่อชนิดย่อยมาจากคำภาษาละตินคือ infumat แปลว่าควัน ความหมายคือ “สีสันคล้ายสีควันหรือสีดำ” พบครั้งแรกที่เมือง Banjermassing หรือ Banjermasin ในเกาะบอร์เนียว ประเทศอินโดนีเซีย '''กระจายพันธุ์'''<br> ในอินเดีย จีนด้านตะวันตกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกาะไหหลำ หมู่เกาะซุนดาใหญ่ และฟิลิปปินส์ '''ลักษณะทั่วไป'''<br> เป็นนกขนาดเล็กมาก (12-13 ซม.) ลำตัว ปีก และหางเรียว ลำตัวทั้งหมดสีน้ำตาลเข้ม บางครั้งมองเป็นเป็นสีออกดำ มันมีลักษณะแตกต่างจากพวกนกแอ่นกินรัง (swiftlet) ตรงที่มันมีหางเรียวกว่าและเว้าลึกกว่า (มากกว่าร้อยละ 30 ของความยาวหาง) ตะโพกและหลังสีเข้ม '''อุปนิสัยและอาหาร'''<br> อาศัยอยู่ตามทุ่งหญ้า ทุ่งนา ป่าละเมาะ ป่าโปร่ง และบริเวณที่ใกล้กับบ้านเรือนตั้งแต่ระดับพื้นราบจนกระทั่งความสูง 1,800 เมตรจากระดับน้ำทะเล ปกติพบอยู่เป็นฝูง ในเวลากลางวันมันใช้เวลาส่วนใหญ่บินและร่อน ทั้งในระดับสูงและระดับที่ค่อนข้างสูงจากพื้นดิน แต่ไม่ค่อยฉวัดเฉวียนอย่างนกแอ่นอื่น ส่วนในเวลากลางคือมันจะเกาะนอนหลับตามแหล่งอาศัย นกแอ่นตาลจะไม่เกาะสายไฟฟ้า ลายโทรเลข หรือกิ่งก้านของต้นไม้ ยกเว้นใบตาลหรือใบปาล์ม บางครั้งมันอาจเกาะตามเพดานหรือผนังสิ่งก่อสร้าง ขณะลงเกาะหรือบินออกหากินมักร้องเป็นเสียงแหลมและดังกังวาน นกแอ่นตาลบินใช้ปากโฉบจับกินแมลงขนาดเล็กกลางอากาศ เช่น มดที่บินได้ในอันดับมดและผึ้ง (Hymenoptera) มวนในอันดับมวน (Hemiptera) แมลงปีกแข็งในอันดับด้วงปีกแข็ง (Coleopera) เป็นต้น '''การผสมพันธุ์''' <br> นกแอ่นตาลผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนมิถุนายน ทำรังรวมกันเป็นกลุ่มตามใบตาล ใบมะพร้าว และใบปาล์ม บางครั้งพบมันทำรังตามผนังและชายคาบ้านและตามสิ่งก่อสร้าง เป็นรูปตะกร้า ด้านข้างติดกับใบตาลหรือปาล์ม มันใช้วัสดุพวกดอกหญ้าซึ่งมีมากในช่วงผสมพันธุ์ และใช้สิ่งที่สกัดออกมาจากต่อมน้ำลายเชื่อมยึดให้ติดกันแน่นและแข็งแรงพอจะรับน้ำหนักไข่และตัวมันได้ ทั้งสองเพศช่วยกันเลือกสถานที่ทำรังหาวัสดุ และสร้างรัง '''ไข่''' <br> รังมีไข่ 2-3 ฟอง เป็นรูปรียาว สีขาว มีขนาดเฉลี่ย 11.7x17.1 มม. ทั้งคู่ช่วยกันฟักไข่ ลูกนกแรกเกิดมีรูปร่างเทอะทะ หัวโต ตาโต ท้องป่อง ยังไม่ลืมตา ไม่มีขนปกคลุมลำตัว และขายังไม่แข็งแรงพอจะยืนได้ พ่อแม่ต้องคอยช่วยกันกกให้ความอบอุ่นโดยให้ลูกนกซุกใต้ปีกหรือใต้ท้อง และต้องคอยช่วยกันหาอาหารมาป้อนตลอดเวลา ลูกนกแอ่นตาลเจริญเติบโตและพัฒนาขนปกคลุมลำตัวค่อนข้างเร็ว อายุเพียง 3-4 สัปดาห์มันจะมีขนาดใหญ่เกือบเท่าตัวเต็มวัยและมีขนปกคลุมทั่วตัว หลังจากนั้นไม่นานมันจะหัดบินและทิ้งรัง '''สถานภาพ'''<br> นกแอ่นตาลเป็นนกประจำถิ่น พบบ่อยและปริมาณมากทั่วทุกภาค เป็นนกแอ่นที่พบมากและบ่อยที่สุดเมื่อเทียบกับบรรดานกแอ่นในวงศ์นี้ '''กฎหมาย''' <br> กฎหมายจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ---- <center>[[ไฟล์:Cypsiurus_balasiensis02.JPG]]</center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ'''<br> https://sites.google.com/site/iambvirds/_/rsrc/1348053416874/nk-xaen-tal-asian-palm-swift-cypsiurus-balasiensis/2.jpg?height=266&width=400<br> https://sites.google.com/site/iambvirds/_/rsrc/1348053469217/nk-xaen-tal-asian-palm-swift-cypsiurus-balasiensis/22.jpg<br>
กลับไป
นกแอ่นตาล
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
นกกก
นกกระจิบคอดำ
นกกระจิบธรรมดา
นกกระจิบหญ้าสีข้างแดง
นกกระติ๊ดเขียว
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกระเต็นลาย
นกกระเต็นหัวดำ
นกกระเต็นใหญ่ธรรมดา
นกกระเต็นอกขาว
นกกระปูดใหญ่
นกกวัก
นกกางเขนดง
นกกางเขนน้ำหลังแดง
นกกางเขนบ้าน
นกกาฝากก้นเหลือง
นกกาฝากท้องสีส้ม
นกกาฝากอกสีเลือดหมู
นกกาฝากอกเหลือง
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอแดง
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีน้ำตาลแดง
นกกินปลีคอสีม่วง
นกกินปลีท้ายทอยน้ำเงิน
นกกินปลีสีเรียบ
นกกินปลีอกเหลือง
นกกินแมลงคอดำ
นกกินแมลงคอลาย
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าสีน้ำตาลแดง
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกกินแมลงปีกแดง
นกกินแมลงหัวสีน้ำตาล
นกกินแมลงอกเหลือง
นกขมิ้นท้ายทอยดำ
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยปีกสีเรียบ
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกขุนแผนอกสีส้ม
นกเขนน้อยไซบีเรีย
นกเขนน้อยปีกแถบขาว
นกเขาเขียว
นกเขาเปล้าธรรมดา
นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า
นกเขียวก้านตองเล็ก
นกเขียวก้านตองใหญ่
นกเขียวคราม
นกเขียวปากงุ้ม
นกคัคคูหงอน
นกเค้าเหยี่ยว
นกเงือกกรามช้าง
นกเงือกปากดำ
นกเงือกหัวหงอก
นกจอกป่าหัวโต
นกจับแมลงคอแดง
นกจับแมลงจุกดำ
นกจับแมลงปีกน้ำตาลแดง
นกจับแมลงสีคล้ำ
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจาบคาคอสีฟ้า
นกจาบคาหัวเขียว
นกจาบคาหัวสีส้ม
นกจาบดินหัวดำ
นกจาบดินอกลาย
นกชนหิน
นกแซงแซวเล็กเหลือบ
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกเด้าลมดง
นกเดินดงหัวสีส้ม
นกตะขาบดง
นกแต้วแล้วธรรมดา
นกแต้วแล้วลาย
นกแต้วแล้วอกเขียว
นกนางแอ่นแปซิฟิค
นกบั้งรอกเขียวอกแดง
นกบั้งรอกแดง
นกบั้งรอกปากแดง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดทอง
นกปรอดท้องสีเทา
นกปรอดสวน
นกปรอดสีน้ำตาลตาขาว
นกปรอดสีน้ำตาลตาแดง
นกปรอดหงอนตาขาว
นกปรอดหน้านวล
นกปรอดหลังเขียวอกลาย
นกปรอดหลังฟู
นกปรอดเหลืองหัวจุก
นกปรอดอกลายเกล็ด
นกปรอดโอ่งท้องสีน้ำตาล
นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ
นกปรอดโอ่งไร้หงอน
นกปลีกล้วยท้องเทา
นกปลีกล้วยปากหนา
นกปลีกล้วยเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองใหญ่
นกพญาปากกว้างท้องแดง
นกพญาปากกว้างลายเหลือง
นกพญาปากกว้างเล็ก
นกพญาปากกว้างสีดำ
นกพญาไฟสีเทา
นกโพระดกคางแดง
นกโพระดกเคราเหลือง
นกโพระดกหน้าผากดำ
นกมุ่นรกสีน้ำตาล
นกยางกรอกพันธุ์จีน
นกยางกรอกพันธุ์ชวา
นกยางเขียว
นกสีชมพูสวน
นกหกเล็กปากแดง
นกหัวขวานจิ๋วคิ้วขาว
นกหัวขวานจิ๋วอกแดง
นกหัวขวานด่างแคระ
นกหัวขวานแดง
นกหัวขวานป่าไผ่
นกหัวขวานลายตะโพกเหลือง
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
นกเอี้ยงถ้ำ
นกแอ่นตาล
นกแอ่นบ้าน
เหยี่ยวดำท้องขาว
เหยี่ยวท้องแดง
เหยี่ยวปลาเล็กหัวเทา
เหยี่ยวผึ้ง
เหยี่ยวรุ้ง
ปรับปรุงล่าสุด
สุ่มหน้า
วิธีใช้
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า