ดูโค้ดสำหรับ นกกางเขนดง
←
นกกางเขนดง
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[[ไฟล์:Copsychus malabaricus01.jpg|right]] '''วงศ์''' : Muscicapinae<br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Copsychus malabaricus'' (Scopli) 1788.<br> '''ชื่อสามัญ''' : White-rumped Shama<br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : นกบินหลาดง, นกบินหลาควน, นกจิงปุ๊ย<br> มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Copsychus malabaricus'' ชื่อชนิดมาจากชื่อสถานที่ที่พบครั้งแรกคือเมืองและชายฝั่ง Malabar (Kerala) ประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นสถานที่ที่ชาวยุโรปรู้จักประเทศอินเดียเป็นครั้งแรก ทั่วโลกมี 18 ชนิดย่อย ประเทศไทยพบ 3 ชนิดย่อย คือ #Copsychus malabaricus indicus (Stuart Baker) ชื่อชนิดย่อยดัดแปลงจากชื่อสถานที่ที่พบครั้งแรกคือประเทศอินเดีย ที่รัฐอัสสัม #Copsychus malabaricus interpositus (Robinson and Boden Kloss) ชื่อชนิดย่อยมาจากรากศัพท์ภาษาละตินคือ inter แปลว่าระหว่าง และ posit แปลว่าสถานที่หรือตำแหน่ง ความหมายคือ “ลักษณะอยู่ระหว่างนกสองชนิดย่อย” พบครั้งแรกที่ประเทศเวียดนาม #Copsychus malabaricus pellogynus (Oberholser) ชื่อชนิดย่อยมาจากรากศัพท์ภาษากรีกคือ pell, -o หรือ pellos แปลว่าสีเข้มหรือสีออกดำ และ gynus แปลว่าแก้ม ความหมายคือ “บริเวณแก้มเป็นสีเข้มหรือสีออกดำ” พบครั้งแรกที่เมืองตะนาวศรี ทางตอนใต้ของประเทศพม่า '''กระจายพันธุ์''' <br> ในอินเดีย จีนด้านตะวันตกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกาะไหหลำ หมู่เกาะอันดามัน และหมู่เกาะซุนดาใหญ่ '''ลักษณะทั่วไป''' <br> เป็นนกขนาดเล็ก (ตัวผู้ 28-29 ซม. ตัวเมีย 21-22 ซม.) ตัวผู้บริเวณหัว คอหอย อก และลำตัวด้านบนเป็นสีดำ ตะโพก ขนคลุมโคนขนหาง ด้านบนและขนหางคู่นอก ๆ เป็นสีขาว ลำตัวด้านล่างส่วนที่เหลือสีน้ำตาลแดงถึงสีส้ม ตัวเมียลักษณะคล้ายกับตัวผู้แต่สีทีมกว่า บริเวณที่เป็นสีดำในตัวผู้เป็นสีเทาเข้ม ท้องและขนคลุมโคนขนหางด้านล่างสีน้ำตาลแดงถึงสีเหลือง ตัวไม่เต็มวัยลักษณะคล้ายตัวเมีย แต่บริเวณที่เป็นสีเทาเข้มในตัวเมียเป็นสีน้ำตาล ขนคลุมขนปีกและช่วงไหล่มีลายเกล็ดสีเหลืองแกมสีน้ำตาลแดง '''อุปนิสัยและอาหาร''' <br> อาศัยอยู่ในป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบแล้ง ป่าดงดิบชื้น ป่าดงดิบเขา ป่ารุ่น และป่าไผ่ ตั้งแต่พื้นราบจนกระทั่งความสูง 1,500 เมตรจากระดับน้ำทะเล พบอยู่โดดเดี่ยว เป็นคู่ หรือเป็นครอบครัว มักเกาะตามกิ่งของต้นไม้ระดับต่ำ ไม้พุ่ม หรือโคนของกอไผ่ บางครั้งลงมายืนบนพื้นดิน เป็นนกที่ร้องได้หลายเสียงเพื่อใช้ในวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน เช่น เกี้ยวพาราสี ป้องกันอาณาเขต เรียกลูกนก เป็นต้น เป็นนกที่คนนิยมเลี้ยงเพื่อฟังเสียงร้องกันมากชนิดหนึ่ง กินแมลงและตัวหนอนเป็นอาหาร โดยมีอุปนิสัยการหาอาหารไม่แตกต่างจากนกกางเขนบ้านตัวเมียเวลาเกาะตามปกติจะยกหางขึ้นคล้ายกับนกกางเขนบ้านตัวผู้ ส่วนตัวผู้มักไม่ยกหางเนื่องจากมีขนหางยาว '''การผสมพันธุ์'''<br> ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนต่อฤดูฝนระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม ทำรังตามโพรงไม้ที่เกิดตามธรรมชาติหรือโพรงเก่าของนกและสัตว์อื่น หรือตามซุ้มกอไผ่ โดยใช้ใบไม้ ใบหญ้า ใบไผ่ และรากฝอยมาวางซ้อนกัน ปกติรังอยู่ไม่สูงจากพื้นดินนัก ประมาณ 2-3 เมตร '''ไข่''' <br> รังมีไข่ 3-5 ฟอง โดยพบ 4 ฟองบ่อยที่สุด ไข่สีเขียวแกมน้ำเงิน มีลายสีน้ำตาลทั่วฟอง ขนาดของไข่โดยเฉลี่ย 17.2x22.0 มม. ทั้งสองเพศช่วยกันทำรัง ฟักไข่ โดยเริ่มฟักหลังจากออกไข่ฟองสุดท้ายของรังแล้ว ใช้เวลาฟักไข่ทั้งสิ้น 15 วัน และช่วยกันเลี้ยงดูลูกอ่อน ใช้เวลาเลี้ยงลูก 20-21 วัน '''สถานภาพ''' <br> เป็นนกประจำถิ่น พบบ่อยและปริมาณมาก ชนิดย่อย indicus พบทางภาคเหนือด้านตะวันตก ชนิดย่อย interpositus พบทางภาคเหนือด้านตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ ภาคกลาง และภาคตะวันตก และชนิดย่อย pellogynus พบทางภาคใต้ '''กฎหมาย''' <br> กฎหมายจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ---- <center>[[ไฟล์:Copsychus malabaricus02.jpg]] [[ไฟล์:Copsychus malabaricus03.jpg]]</center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ'''<br> https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcS6E-EcWDpS_Ua2vsXngH7no8hcV2ij1G8elyfoqBpqJejVItnepA&s<br> https://image.freepik.com/free-photo/white-rumped-shama-copsychus-malabaricus-beautiful-male-birds-thailand_35071-428.jpg<br> http://www.lowernorthernbird.com/bird_picture/large/2018_01_02_20_35_38.jpg<br>
กลับไป
นกกางเขนดง
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
นกกก
นกกระจิบคอดำ
นกกระจิบธรรมดา
นกกระจิบหญ้าสีข้างแดง
นกกระติ๊ดเขียว
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกระเต็นลาย
นกกระเต็นหัวดำ
นกกระเต็นใหญ่ธรรมดา
นกกระเต็นอกขาว
นกกระปูดใหญ่
นกกวัก
นกกางเขนดง
นกกางเขนน้ำหลังแดง
นกกางเขนบ้าน
นกกาฝากก้นเหลือง
นกกาฝากท้องสีส้ม
นกกาฝากอกสีเลือดหมู
นกกาฝากอกเหลือง
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอแดง
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีน้ำตาลแดง
นกกินปลีคอสีม่วง
นกกินปลีท้ายทอยน้ำเงิน
นกกินปลีสีเรียบ
นกกินปลีอกเหลือง
นกกินแมลงคอดำ
นกกินแมลงคอลาย
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าสีน้ำตาลแดง
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกกินแมลงปีกแดง
นกกินแมลงหัวสีน้ำตาล
นกกินแมลงอกเหลือง
นกขมิ้นท้ายทอยดำ
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยปีกสีเรียบ
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกขุนแผนอกสีส้ม
นกเขนน้อยไซบีเรีย
นกเขนน้อยปีกแถบขาว
นกเขาเขียว
นกเขาเปล้าธรรมดา
นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า
นกเขียวก้านตองเล็ก
นกเขียวก้านตองใหญ่
นกเขียวคราม
นกเขียวปากงุ้ม
นกคัคคูหงอน
นกเค้าเหยี่ยว
นกเงือกกรามช้าง
นกเงือกปากดำ
นกเงือกหัวหงอก
นกจอกป่าหัวโต
นกจับแมลงคอแดง
นกจับแมลงจุกดำ
นกจับแมลงปีกน้ำตาลแดง
นกจับแมลงสีคล้ำ
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจาบคาคอสีฟ้า
นกจาบคาหัวเขียว
นกจาบคาหัวสีส้ม
นกจาบดินหัวดำ
นกจาบดินอกลาย
นกชนหิน
นกแซงแซวเล็กเหลือบ
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกเด้าลมดง
นกเดินดงหัวสีส้ม
นกตะขาบดง
นกแต้วแล้วธรรมดา
นกแต้วแล้วลาย
นกแต้วแล้วอกเขียว
นกนางแอ่นแปซิฟิค
นกบั้งรอกเขียวอกแดง
นกบั้งรอกแดง
นกบั้งรอกปากแดง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดทอง
นกปรอดท้องสีเทา
นกปรอดสวน
นกปรอดสีน้ำตาลตาขาว
นกปรอดสีน้ำตาลตาแดง
นกปรอดหงอนตาขาว
นกปรอดหน้านวล
นกปรอดหลังเขียวอกลาย
นกปรอดหลังฟู
นกปรอดเหลืองหัวจุก
นกปรอดอกลายเกล็ด
นกปรอดโอ่งท้องสีน้ำตาล
นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ
นกปรอดโอ่งไร้หงอน
นกปลีกล้วยท้องเทา
นกปลีกล้วยปากหนา
นกปลีกล้วยเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองใหญ่
นกพญาปากกว้างท้องแดง
นกพญาปากกว้างลายเหลือง
นกพญาปากกว้างเล็ก
นกพญาปากกว้างสีดำ
นกพญาไฟสีเทา
นกโพระดกคางแดง
นกโพระดกเคราเหลือง
นกโพระดกหน้าผากดำ
นกมุ่นรกสีน้ำตาล
นกยางกรอกพันธุ์จีน
นกยางกรอกพันธุ์ชวา
นกยางเขียว
นกสีชมพูสวน
นกหกเล็กปากแดง
นกหัวขวานจิ๋วคิ้วขาว
นกหัวขวานจิ๋วอกแดง
นกหัวขวานด่างแคระ
นกหัวขวานแดง
นกหัวขวานป่าไผ่
นกหัวขวานลายตะโพกเหลือง
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
นกเอี้ยงถ้ำ
นกแอ่นตาล
นกแอ่นบ้าน
เหยี่ยวดำท้องขาว
เหยี่ยวท้องแดง
เหยี่ยวปลาเล็กหัวเทา
เหยี่ยวผึ้ง
เหยี่ยวรุ้ง
ปรับปรุงล่าสุด
สุ่มหน้า
วิธีใช้
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า