ดูโค้ดสำหรับ เหยี่ยวผึ้ง
←
เหยี่ยวผึ้ง
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[[ไฟล์:Pernis ptilorhyncus1.jpg|right]] '''วงศ์''' : Accipitridae<br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Pernis ptilorhyncus''<br> '''ชื่อสามัญ''' : Oriental Honey-buzzard <br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : -<br> ประกอบด้วย 3 ชนิดย่อย บาง 2 ตำรายกฐานะเป็นชนิด 2 ชนิด ดังนี้ #เหยี่ยวผึ้งพันธุ์เอเชียตะวันออก Eastern Honey-buzzard Pernis [ptilorhyncus] orientalis เป็นเหยี่ยวอพยพจากประเทศรัสเซีย จีน เกาหลีและญี่ปุ่น ทั้งอพยพเข้ามาอาศัยในประเทศไทย และอพยพผ่านไปประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย #เหยี่ยวผึ้งหงอน Crested Honey-buzzard มี 2 ชนิดย่อย คือ ##เหยี่ยวผึ้งหงอนพันธุ์เหนือ Pernis ptilorhyncus ruficolis เป็นเหยี่ยวประจำถิ่น พบในภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ##เหยี่ยวผึ้งหงอนพันธุ์ใต้ Pernis ptilorhyncus torquatus เป็นเหยี่ยวประจำถิ่น พบในภาคกลางตอนล่าง ตั้งแต่จังหวัดเพชรบุรีลงไปและภาคใต้ '''ลักษณะทั่วไป''' <br> ขนาด 55-65 เซนติเมตร ความยาวปีก 1.13 - 1.55 เมตร น้ำหนักตัว ตัวผู้ 0.75-1.28 กิโลกรัม ตัวเมีย 0.95 1.49 กิโลกรัม เป็นเหยี่ยวปีกแตกขนาดใหญ่ มีชุดขนผันแปรมากที่สุดในบรรดาเหยี่ยว ทุกชนิด จำนวน 6 แบบ ประกอบด้วยชุดขนสีเข้ม สีจาง สีน้ำตาลไหม้ สีส้ม ลายจุดและ ลายขวาง เนื่องจากเป็นเหยี่ยวที่มีนิสัยไม่ดุร้าย จึงเลียนแบบชุดขนของเหยี่ยวที่ดุร้ายกว่า เช่น เหยี่ยวดำท้องขาว (เรียกว่า tweedale morph) เหยี่ยวต่างสีหรือเหยี่ยวทะเลทราย ซึ่งลักษณะ ของส่วนล่างของลำตัวจะเหมือนกับขนคลุมใต้ปีกในชุดขนแต่ละแบบ จึงควรมุ่งสังเกตรูปลักษณ์และลักษณะของแถบใต้หางเป็นจุดแยกสำคัญ ขณะบิน ส่วนหัวยืนยาว แต่เล็กเมื่อเทียบกับลำตัว คล้ายหัวของนกพิราบหรือนกคัดคู ปีกยาวและกว้าง หางยาว ปลายหางมนและมีรอยปุ่มตรงกลาง เมื่อหุบหาง รูปแบบการบินตีปีกต่อเนื่องอย่างช้า ๆ ระนาบปีกเสมอลำตัว ขอบปีกท้ายมีแถบสีเข้ม ใต้หางมีแถบขวาง 3-5 แถบแล้วแต่เพศ และความหนาของแถบใต้ปีกและใต้หางผันแปรตามอายุ มักพบร่อนมวลอากาศร้อนในเวลากลางวันและร่อนอย่างเงียบ ๆ ขณะเกาะ ส่วนหัวเล็ก ใบหน้าไม่ดุดัน เนื่องจากไม่มีกระดูกคิ้ว ขับเน้นสีหน้าดุร้าย เหมือนเหยี่ยวหรือนกอินทรีส่วนใหญ่ ปลายปีกยาวเกินสองในสามของหาง บางตัวเกือบจรดปลายหาง หน้าแข้งหนาและเปลือยบางส่วน เล็บสีดำยาวไม่ได้สัดส่วนกับนิ้วตีน ส่วนใหญ่มีสร้อยคอสีน้ำตาลหรือสีดำ แล้วแต่ชุดขน ตัวเต็มวัย หนังคลุมจมูกสีเข้มเสมอโคนปาก มีดกรีดเป็นร่อง แถบใต้หางสองแบบตามเพศ และช่องว่างระหว่างแถบใต้ปีกที่ขอบปีกท้าย และแถบด้านใน ไม่เท่ากับช่องว่างระหว่างแถบด้านใน พบร่องรอยการผลัดขนระหว่างการอพยพลงใต้ในฤดูกาลอพยพต้นหนาว แล้วจะเริ่มผลัดขนอย่างสมบูรณ์อีกครั้งในฤดูหนาวทำให้ระหว่างอพยพผ่านในฤดูกาลอพยพปลายหนาว จะมีขนปีกใหม่เสมอกันและไม่มีร่องรอยการผลัดขนปีก จำแนกเพศได้ทั้งขณะบินและขณะเกาะ สังเกตลักษณะของแกนใน ใต้หาง ใบหน้าและสีของม่านตา ตัวผู้ ใต้ปีกมีแถบหนาสีดำ แถบที่ขอบปีกท้ายหนา และเว้นระยะห่างจากแถบด้านในที่แคบกว่า แถบใต้หางสีดำสลับขาวหนา 3 แถบ ใบหน้าสีเทา ม่านตาสีน้ำตาลเข้มในเหยี่ยวผึ้งพันธุ์เอเชียตะวันออก แต่เหยี่ยวผึ้งหงอนพันให้ มีม่านตาสีเหลือง และยังไม่มีข้อมูลสำหรับเหยี่ยวฝั่งหงอนพันธุ์เหนือว่าเหมือนพันธุ์ใดข้างต้น ตัวเมีย ใต้ปีกมีแถบคล้ายตัวผู้ แต่แถบที่ขอบปีกท้ายแคบกว่า ใต้หางมีแถบ 5 แถบ เป็น แถบดำ 3 แถบ และแคบกว่าแถบขาว ใบหน้าไม่มีสีเทา แต่ผันแปรตามสีของชุดขน ส่วนใหญ่ เป็นสีน้ำตาล ม่านตาสีเหลือง (ทุกพันธุ์) วัยเด็ก แถบใต้หางคล้ายตัวเมียตัวเต็มวัย แต่แถบดำแคบกว่า มีแถบเล็ก ๆ แซมระหว่างแถบใหญ่ และระยะห่างระหว่างแถบใต้ปีกเท่ากัน ไม่มีแถบ ที่ขอบปีกท้ายชัดเจน หนังคลุมจมูกสีเหลืองหรือเหลืองอมเขียว สีจางเมื่อสังเกตจากระยะไกล ตัดกับโคนปากสีเข้ม สีของม่านตาผันแปร อาจมีสีขาวน้ำนม สีเหลืองอ่อนหรือเหลืองส้มเข้มขึ้นตามอายุ มีแถบเข้มคาดตาจากหัวตาจรดข้างท้ายทอย ในฤดูกาลอพยพต้นหนาวจะมีชุดใหม่ ขอบปีกท้ายมีแถบสีเนื้อ เมื่ออพยพกลับถิ่นผสมพันธุ์ในฤดูกาลอพยพปลายหนาว จะพบร่องรอยการผลัดขนปีก พบทั้งขนปีกชุดใหม่และชุดเก่า เรียกว่าวัยรุ่นปีที่สอง หรือถ้าเรียกฤดูกาลว่าฤดูหนาวแรกหรือฤดูร้อนแรก แล้วแต่เดือนที่พบ จำแนกชนิดย่อย ชนิดย่อยอพยพ มีหงอนสั้นจนแทบมองไม่เห็น ชนิดย่อยประจำถิ่นมีหงอนยาวกว่า และยาวที่สุดในภาคใต้ ส่วนชุดขนจำแนกออกจากกันไม่ได้ โดยเฉพาะขณะบิน (Nijman, 2004) '''อุปนิสัยและอาหาร''' <br> เหยี่ยวผึ้งเป็นเหยี่ยวไคท์ที่เชื่องช้า ล่าผึ้ง ต่อ และแตน รวมทั้งตัวอ่อนในรัง รวมทั้งน้ำผึ้งและไขของรังแมลงเหล่านี้เป็นอาหารหลัก อาจล่าสัตว์ขนาดเล็กอื่น ๆ '''สถานภาพ''' <br> พบในป่าโปร่ง หรือป่าดิบชื้น แต่ในฤดูกาลอพยพ พบอพยพเป็นฝูงนับหมื่นตัวทั่วประเทศ '''ลิงค์ข้อมูลเพิ่มเติม''' <br> [https://www.youtube.com/watch?v=AJAaPaGzpMc เหยี่ยวผึ้ง] ---- <center>[[ไฟล์:Pernis ptilorhyncus2.jpg]] [[ไฟล์:Pernis ptilorhyncus3.jpg]]</center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ'''<br> https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn%3AANd9GcTgV8SSTSF1Wp6DllnSP2aNXoHQUSMjYCQKq8BekrDM2QAY1e1K<br> https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn%3AANd9GcT9-R7eWIkmXD114uYKFdu0Dqx4ALlbzIqaEBgDtS1eJiM1wQM4<br> https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn%3AANd9GcTugLcq1wz0KsxzhYUGulieKaHNxwqp-XMOx7VKi7AbLpRfzOsK<br>
กลับไป
เหยี่ยวผึ้ง
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
นกกก
นกกระจิบคอดำ
นกกระจิบธรรมดา
นกกระจิบหญ้าสีข้างแดง
นกกระติ๊ดเขียว
นกกระติ๊ดตะโพกขาว
นกกระเต็นลาย
นกกระเต็นหัวดำ
นกกระเต็นใหญ่ธรรมดา
นกกระเต็นอกขาว
นกกระปูดใหญ่
นกกวัก
นกกางเขนดง
นกกางเขนน้ำหลังแดง
นกกางเขนบ้าน
นกกาฝากก้นเหลือง
นกกาฝากท้องสีส้ม
นกกาฝากอกสีเลือดหมู
นกกาฝากอกเหลือง
นกกินปลีแก้มสีทับทิม
นกกินปลีคอแดง
นกกินปลีคอสีน้ำตาล
นกกินปลีคอสีน้ำตาลแดง
นกกินปลีคอสีม่วง
นกกินปลีท้ายทอยน้ำเงิน
นกกินปลีสีเรียบ
นกกินปลีอกเหลือง
นกกินแมลงคอดำ
นกกินแมลงคอลาย
นกกินแมลงป่าฝน
นกกินแมลงป่าสีน้ำตาลแดง
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล
นกกินแมลงปีกแดง
นกกินแมลงหัวสีน้ำตาล
นกกินแมลงอกเหลือง
นกขมิ้นท้ายทอยดำ
นกขมิ้นน้อยธรรมดา
นกขมิ้นน้อยปีกสีเรียบ
นกขมิ้นน้อยสีเขียว
นกขุนแผนอกสีส้ม
นกเขนน้อยไซบีเรีย
นกเขนน้อยปีกแถบขาว
นกเขาเขียว
นกเขาเปล้าธรรมดา
นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า
นกเขียวก้านตองเล็ก
นกเขียวก้านตองใหญ่
นกเขียวคราม
นกเขียวปากงุ้ม
นกคัคคูหงอน
นกเค้าเหยี่ยว
นกเงือกกรามช้าง
นกเงือกปากดำ
นกเงือกหัวหงอก
นกจอกป่าหัวโต
นกจับแมลงคอแดง
นกจับแมลงจุกดำ
นกจับแมลงปีกน้ำตาลแดง
นกจับแมลงสีคล้ำ
นกจับแมลงสีน้ำตาล
นกจาบคาคอสีฟ้า
นกจาบคาหัวเขียว
นกจาบคาหัวสีส้ม
นกจาบดินหัวดำ
นกจาบดินอกลาย
นกชนหิน
นกแซงแซวเล็กเหลือบ
นกแซงแซวหางปลา
นกแซวสวรรค์
นกเด้าลมดง
นกเดินดงหัวสีส้ม
นกตะขาบดง
นกแต้วแล้วธรรมดา
นกแต้วแล้วลาย
นกแต้วแล้วอกเขียว
นกนางแอ่นแปซิฟิค
นกบั้งรอกเขียวอกแดง
นกบั้งรอกแดง
นกบั้งรอกปากแดง
นกบั้งรอกใหญ่
นกปรอดคอลาย
นกปรอดทอง
นกปรอดท้องสีเทา
นกปรอดสวน
นกปรอดสีน้ำตาลตาขาว
นกปรอดสีน้ำตาลตาแดง
นกปรอดหงอนตาขาว
นกปรอดหน้านวล
นกปรอดหลังเขียวอกลาย
นกปรอดหลังฟู
นกปรอดเหลืองหัวจุก
นกปรอดอกลายเกล็ด
นกปรอดโอ่งท้องสีน้ำตาล
นกปรอดโอ่งเมืองเหนือ
นกปรอดโอ่งไร้หงอน
นกปลีกล้วยท้องเทา
นกปลีกล้วยปากหนา
นกปลีกล้วยเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองเล็ก
นกปลีกล้วยหูเหลืองใหญ่
นกพญาปากกว้างท้องแดง
นกพญาปากกว้างลายเหลือง
นกพญาปากกว้างเล็ก
นกพญาปากกว้างสีดำ
นกพญาไฟสีเทา
นกโพระดกคางแดง
นกโพระดกเคราเหลือง
นกโพระดกหน้าผากดำ
นกมุ่นรกสีน้ำตาล
นกยางกรอกพันธุ์จีน
นกยางกรอกพันธุ์ชวา
นกยางเขียว
นกสีชมพูสวน
นกหกเล็กปากแดง
นกหัวขวานจิ๋วคิ้วขาว
นกหัวขวานจิ๋วอกแดง
นกหัวขวานด่างแคระ
นกหัวขวานแดง
นกหัวขวานป่าไผ่
นกหัวขวานลายตะโพกเหลือง
นกอีเสือลายเสือ
นกอีเสือสีน้ำตาล
นกเอี้ยงถ้ำ
นกแอ่นตาล
นกแอ่นบ้าน
เหยี่ยวดำท้องขาว
เหยี่ยวท้องแดง
เหยี่ยวปลาเล็กหัวเทา
เหยี่ยวผึ้ง
เหยี่ยวรุ้ง
ปรับปรุงล่าสุด
สุ่มหน้า
วิธีใช้
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า