ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหยี่ยวดำท้องขาว"

จาก ระบบฐานข้อมูลชนิดนกชนิดนกในอุทยานแห่งชาติเขาสก อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี
(ล็อก "เหยี่ยวดำท้องขาว" ([แก้ไข=อนุญาตเฉพาะผู้ดูแลระบบ] (ไม่มีกำหนด) [เปลี่ยนชื่อ=อนุญาตเฉพา...)
แถว 1: แถว 1:
[[ไฟล์:Spizaetus alboniger1.jpg|right]]
+
[[ไฟล์:lichthyophaga humilis1.jpg|right]]
 
'''วงศ์''' :  Accipitridae<br>
 
'''วงศ์''' :  Accipitridae<br>
'''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Spizaetus alboniger'' Blyth, 1845.<br>
+
'''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''lichthyophaga humilis''<br>
'''ชื่อสามัญ''' : Blyth’s Hawk-eagle <br>
+
'''ชื่อสามัญ''' : Lesser Fish-eagle <br>
 
'''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : -<br>
 
'''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ''' : -<br>
 
'''กระจายพันธุ์''' <br>
 
ในอุษาคเนย์ เฉพาะภาคใต้ของประเทศไทย ประเทศมาเลเซีย เกาะสุมาตราและบอร์เนียวเท่านั้น
 
 
 
 
'''ลักษณะทั่วไป''' <br>
 
'''ลักษณะทั่วไป''' <br>
ขนาด 50-58 เซนติเมตร ความยาวปีก 1.00 -1.15 เมตร น้ำหนักตัว ตัวผู้/ตัวเมีย 0.83 กิโลกรัม ตัวผู้ขนาดเล็กกว่าตัวเมีย  แต่ชุดขนเหมือนกัน ตัวเต็มวัย ชุดขนสีขาวดำ ขณะบิน ขนคลุมใต้ปีกสีดำเป็นลายขวาง ใต้ปีก มีแถบดำเล็กสามแถบ เว้นระยะห่างจากแถบดำหนาที่ขอบปีกท้ายมากกว่าระหว่างแถบด้านใน ทั้งสาม คล้ายใต้ปีกของเหยี่ยวผึ้งตัวเต็มวัย แต่สังเกตความหนาของแถบด้านใน ใต้หางมีแถบสามแถบ ดำสลับขาว แถบขาวตรงกลางหนาที่สุด ขณะเกาะ คอขาวมีขีดกลางสีดำเด่น อกขาวมีลายขีดรูปหยดน้ำขนาดใหญ่ ท้อง สีข้าง โคนขา และขนคลุมก้นมีลายขวางสีดำ บนปีกสีดำสนิท ม่านตาสีส้ม วัยเด็ก ขณะเกาะ หงอนสีดำยาว ปลายมีจุดขาว กระหม่อม แก้มสีส้มและจางลงเป็นสีปูนแห้งที่ส่วนล่างของลำตัวและโคนขาที่ไม่มีลาย แถบหางห้าแถบ ดำสลับเทา ความหนาใกล้เคียงกัน บนปีกสีน้ำตาลมีขลิบสีขาว ม่านตาสีครีม วัยรุ่น ใต้ปีก คล้ายวัยเด็ก แต่ขนหางผลัดขนแล้วคล้ายตัวเต็มวัย ขนคลุมใต้ปีกสีเนื้อมีลายขวางสีดำมากขึ้น
+
ขนาด 53-68 เซนติเมตร ความยาวปีก 1.2-1.65 เมตร น้ำหนักตัว ตัวผู้ตัวเมีย 0.78-0.79 กิโลกรัม เหยี่ยวปลาขนาดใหญ่ ปีกกว้างและไม่ยาวนัก เมื่อเทียบกับส่วนหัว และหาง ทําให้ดูเหมือนว่าปีกค่อนข้างสัน ปลายปีกแตกและกลมมน ขณะบิน กระพือปีกช้าและหนัก ร่อนด้วยระนาบปีกขนานกับลําตัว แต่แอ่นปลายปีกงอนเหนือลําตัวเล็กน้อย ขอบปีกหน้าเป็นเส้นโค้ง ข้อมือยื่นไปข้างหน้า ทําให้ส่วนหัวหลุบเข้าไปด้านหลัง ขอบปีกท้ายโค้งโป่งออกคล้ายตกท้องช้างเล็กน้อย และมีรอยเว้าที่โคนปีกด้านท้าย หางสั้น ปลายหางมน ขณะเกาะ ส่วนหัวเล็กเมื่อเทียบกับลําตัว แข้งมีขนคลุมเพียงหนึ่งในสามของส่วนบน ผิวหนัง ของแข้งมีเกล็ดนูนหนา จะงอยปากค่อนข้างเล็กเมื่อเทียบกับนกอินทรีกินปลา ปลายปีกยาวเกือบจรดปลายหาง จะงอยปากและหนังคลุมจมูกสีดํา ตัวเต็มวัย ชุดขนสีเทาปนน้ำตาล ส่วนหัวสีเทา ในระยะใกล้มีลายขีดที่คอ สีเทาของส่วนหัวยาวถึงอกแล้วกลายเป็นสีเทาแกมน้ำตาล บนท้องส่วนบน แล้วเปลี่ยนเป็นสีขาวปลอดที่สีข้าง ท้อง โคนขา และขนคลุมก้น ใต้หางสีน้ำตาล ปลายหางมีแถบสีดําเลือน ๆ มองจากระยะไกลจะไม่เห็นว่าหางมีแถบพาดใต้ปีก สีดำไม่มีลายและสีเข้มกว่าขนคลุมใต้ปีกมีสีน้ำตาลเข้มและไม่มีลายเช่นกัน มีพื้นขาวเล็ก ๆ ของขนปลายปีกด้านนอก ม่านตาสีเหลือง ตัวผู้และตัวเมียขนาดต่างกัน ตัวเมียขนาดใหญ๋กว่า แต่ชุดขนเหมือนกัน วัยเด็ก ชุดขนสีน้ำตาล มีลายขีดที่ส่วนหัวและอก แต่โดยรวมสีจางตัวเต็มวัย ท้อง สีข้าง โคนขา และขนคลุมก้นสีขาว ใต้ปีกมีลายขวางจาง ๆ แถบขาวขนาดใหญ่ที่ขนปลายปีกด้านใน ขนคลมใต้ปีกมีลายสีน้ำตาลสลับขาว ใต้หาง น้ำอ่อนมีลายประและแถบดําที่ปลายหาง ม่านตาสีน้ำตาล
 
 
 
'''อุปนิสัยและอาหาร''' <br>
 
'''อุปนิสัยและอาหาร''' <br>
ล่านกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกินเป็นอาหารหลัก
+
จับปลากินเป็นอาหารหลัก ด้วยวิธีของนกอินทรีกินปลา มักพบเกาะเดียวบนยอดไม้ตายซากหรือก้อนหินกลางน้ำหรือริมน้ำเพื่อมองหา ปลาที่ว่ายขึ้นมาบนผิวน้ำ
 
 
 
'''สถานภาพ''' <br>
 
'''สถานภาพ''' <br>
เหยี่ยวประจำถิ่น พบในป่าดิบหรือชายป่า เช่น สวนยางหรือสวนปาล์มที่ภาคใต้
+
เป็นเหยี่ยวปลาประจําถิ่น อาศัยตามลําธาร น้ำตก แม่น้ำ หรือทะเลสาบใกล้หรือภายในป่าดิบชื้น อาจพบตามทะเลสาบเหนือเขื่อน ในภาคตะวันตกและภาคใต้
  
 
----
 
----
<center>[[ไฟล์:Spizaetus alboniger2.jpg]]  [[ไฟล์:Spizaetus alboniger3.jpg]]</center>
+
<center>[[ไฟล์:lichthyophaga humilis2.jpg]]  [[ไฟล์:lichthyophaga humilis3.jpg]]</center>
 
----
 
----
 
'''แหล่งที่มาของภาพ'''<br>
 
'''แหล่งที่มาของภาพ'''<br>
https://live.staticflickr.com/8031/8067764383_b767261109_b.jpg<br>
+
https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn%3AANd9GcQ63e1LLHlXxKl0WXd20OJ7zriFMElS1U-fW3TI9DDb-3WCw0xn<br>
https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcSyWvD_9cOPDz85ZWK2jZ9Ju_60UthmqaHuhShmOb9fnr6I6PS2Qg&s<br>
+
https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn%3AANd9GcQQTuwrQsQWOJ9fz7axi1Gz7PKZKZHa2ZTRkJriGh8SazmwxkFR<br>
https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn%3AANd9GcQKA5rB0CSIwnVRND6JCDaygyVkaezr2erh0ARuVq0DZLH8rmRc<br>
+
https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn%3AANd9GcQu1xTm9S0RJiM6vEVNFMc4F7trafia7EuFhGBpvKuaHFmQbmgo<br>

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 22:59, 1 กุมภาพันธ์ 2563

Lichthyophaga humilis1.jpg

วงศ์ : Accipitridae
ชื่อวิทยาศาสตร์ : lichthyophaga humilis
ชื่อสามัญ : Lesser Fish-eagle
ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่นๆ : -

ลักษณะทั่วไป
ขนาด 53-68 เซนติเมตร ความยาวปีก 1.2-1.65 เมตร น้ำหนักตัว ตัวผู้ตัวเมีย 0.78-0.79 กิโลกรัม เหยี่ยวปลาขนาดใหญ่ ปีกกว้างและไม่ยาวนัก เมื่อเทียบกับส่วนหัว และหาง ทําให้ดูเหมือนว่าปีกค่อนข้างสัน ปลายปีกแตกและกลมมน ขณะบิน กระพือปีกช้าและหนัก ร่อนด้วยระนาบปีกขนานกับลําตัว แต่แอ่นปลายปีกงอนเหนือลําตัวเล็กน้อย ขอบปีกหน้าเป็นเส้นโค้ง ข้อมือยื่นไปข้างหน้า ทําให้ส่วนหัวหลุบเข้าไปด้านหลัง ขอบปีกท้ายโค้งโป่งออกคล้ายตกท้องช้างเล็กน้อย และมีรอยเว้าที่โคนปีกด้านท้าย หางสั้น ปลายหางมน ขณะเกาะ ส่วนหัวเล็กเมื่อเทียบกับลําตัว แข้งมีขนคลุมเพียงหนึ่งในสามของส่วนบน ผิวหนัง ของแข้งมีเกล็ดนูนหนา จะงอยปากค่อนข้างเล็กเมื่อเทียบกับนกอินทรีกินปลา ปลายปีกยาวเกือบจรดปลายหาง จะงอยปากและหนังคลุมจมูกสีดํา ตัวเต็มวัย ชุดขนสีเทาปนน้ำตาล ส่วนหัวสีเทา ในระยะใกล้มีลายขีดที่คอ สีเทาของส่วนหัวยาวถึงอกแล้วกลายเป็นสีเทาแกมน้ำตาล บนท้องส่วนบน แล้วเปลี่ยนเป็นสีขาวปลอดที่สีข้าง ท้อง โคนขา และขนคลุมก้น ใต้หางสีน้ำตาล ปลายหางมีแถบสีดําเลือน ๆ มองจากระยะไกลจะไม่เห็นว่าหางมีแถบพาดใต้ปีก สีดำไม่มีลายและสีเข้มกว่าขนคลุมใต้ปีกมีสีน้ำตาลเข้มและไม่มีลายเช่นกัน มีพื้นขาวเล็ก ๆ ของขนปลายปีกด้านนอก ม่านตาสีเหลือง ตัวผู้และตัวเมียขนาดต่างกัน ตัวเมียขนาดใหญ๋กว่า แต่ชุดขนเหมือนกัน วัยเด็ก ชุดขนสีน้ำตาล มีลายขีดที่ส่วนหัวและอก แต่โดยรวมสีจางตัวเต็มวัย ท้อง สีข้าง โคนขา และขนคลุมก้นสีขาว ใต้ปีกมีลายขวางจาง ๆ แถบขาวขนาดใหญ่ที่ขนปลายปีกด้านใน ขนคลมใต้ปีกมีลายสีน้ำตาลสลับขาว ใต้หาง น้ำอ่อนมีลายประและแถบดําที่ปลายหาง ม่านตาสีน้ำตาล

อุปนิสัยและอาหาร
จับปลากินเป็นอาหารหลัก ด้วยวิธีของนกอินทรีกินปลา มักพบเกาะเดียวบนยอดไม้ตายซากหรือก้อนหินกลางน้ำหรือริมน้ำเพื่อมองหา ปลาที่ว่ายขึ้นมาบนผิวน้ำ

สถานภาพ
เป็นเหยี่ยวปลาประจําถิ่น อาศัยตามลําธาร น้ำตก แม่น้ำ หรือทะเลสาบใกล้หรือภายในป่าดิบชื้น อาจพบตามทะเลสาบเหนือเขื่อน ในภาคตะวันตกและภาคใต้


Lichthyophaga humilis2.jpg Lichthyophaga humilis3.jpg

แหล่งที่มาของภาพ
https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn%3AANd9GcQ63e1LLHlXxKl0WXd20OJ7zriFMElS1U-fW3TI9DDb-3WCw0xn
https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn%3AANd9GcQQTuwrQsQWOJ9fz7axi1Gz7PKZKZHa2ZTRkJriGh8SazmwxkFR
https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn%3AANd9GcQu1xTm9S0RJiM6vEVNFMc4F7trafia7EuFhGBpvKuaHFmQbmgo