ดูโค้ดสำหรับ หญ้าหวาน
←
หญ้าหวาน
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[[ไฟล์:stevia.png|right]] '''วงศ์''' : ASTERACEAE หรือ COMPOSITAE <br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Stevia rebaudiana (Bertoni) Bertoni'' <br> '''ชื่อสามัญ''' : Stevia <br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่น ๆ''' : - <br><br> '''ลักษณะทางพฤกษศาสตร์'''<br> '''ต้น''' : เป็นพืชล้มลุกอายุประมาณ 3 ปี ลักษณะเป็นพุ่มเตี้ย มีความสูงประมาณ 30 - 90 เซนติเมตร มีลำต้นแข็งและกลม ลักษณะทั่วไปคล้ายต้นโหระพา<br> '''ใบ''' : เป็นใบเดี่ยว ลักษณะของใบคล้ายรูปหอกหัวกลับ ขอบใบหยักคล้ายฟันเลื่อย มีรสหวานมาก ใช้แทนน้ำตาลได้ <br> '''ดอก''' : ออกดอกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกมีสีขาว ดอกเล็ก กลีบเป็นรูปไข่สีขาวเล็กมาก มีเกสรตัวผู้เป็นสีขาวงอไปมา ยื่นออกมาเล็กน้อย<br> '''ผล''' : เป็นผลแห้งขนาดเล็ก ไม่ปริแตก ภายในมีเมล็ดเดี่ยวจำนวนมาก เมล็ดสีดำ มีขนปุยปกคลุม<br> '''การขยายพันธุ์''' : การใช้เมล็ดและการใช้กิ่งชำปลูก <br> <br> '''สรรพคุณ''' <br> :::1. สมุนไพรหญ้าหวานช่วยเพิ่มกำลังวังชา :::2. ช่วยให้เลือดไปเลี้ยงสมองมากขึ้น :::3. ช่วยในการรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน ลดระดับน้ำตาลในเส้นเลือด เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด :::4. ช่วยลดไขมันในเลือดสูง :::5. ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง และโรคอ้วน :::6. ช่วยบำรุงตับ :::7. ช่วยสมานแผลทั้งภายในและภายนอก <br><br> '''ประโยชน์''' <br> :::1. ช่วยเพิ่มการรับประทานอาหารและช่วยลดความขมในอาหารได้ :::2. ใช้เป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาล โดยไม่ทำให้น้ำตาลในเลือดสูง :::3. '''หญ้าหวานทางเลือกของคนอ้วน''' ให้ความหวานเหมือนน้ำตาล แต่ไม่ให้พลังงาน รับประทานเท่าไหร่ก็ไม่อ้วน จึงช่วยในการควบคุมน้ำหนักได้เป็นอย่างดี :::4. มีการนำหญ้าหวานไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปต่าง ๆ โดยปัจจุบันนิยมบริโภคหญ้าหวานอยู่ด้วยกัน 5 รูปแบบ โดยเรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ใบอบแห้ง, ใบแห้งบดสำหรับชงแบบสำเร็จรูป '''(ชาหญ้าหวาน)''', ใบสด, ใบแห้งบดสำหรับใช้แทนน้ำตาล '''(หญ้าหวานผง)''', และแบบสารสกัดจากใบแห้งด้วยน้ำ โดยจะนิยมนำมาชงเป็นชาดื่ม รองลงมาก็คือ การนำมาต้มและเคี้ยว แต่จะไม่ค่อยนิยมนำมาบริโภคในแบบผสมกับอาหารเท่าใดนัก :::5. มีการนำสารสกัดจากหญ้าหวานมาใช้แทนน้ำตาล หรือใช้ทดแทนน้ำตาลบางส่วน เพราะสารสตีวิโอไซด์นั้นมีความทนทานต่อกรดและความร้อนได้เป็นอย่างดี จึงสามารถนำมาใช้ในอาหารและเครื่องดื่มต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลาย เช่น น้ำอัดลม น้ำชาเขียว ขนมเบเกอรี แยม เยลลี ไอศกรีม ลูกอม หมากฝรั่ง ซอสปรุงรส ฯลฯ (ล่าสุดได้ยินมาว่าเครื่องดื่มแบรนด์ดังอย่างโคคา โคล่า ก็ได้มีจดสิทธิบัตรและได้ทำการผลิตโดยใช้สารสกัดนี้แล้วเหมือนกัน แต่ยังไม่เห็นจำหน่ายในไทย ซึ่งถ้ามีมาเมื่อไหร่ก็ถือเป็นทางเลือกที่ดีสำหรับผู้ที่ไม่อยากดื่มน้ำตาลเป็นซอง ๆ) :::6. ในอุตสาหกรรมอาหาร สารสกัดจากหญ้าหวานถือว่ามีข้อดีหลายอย่าง เช่น การไม่ถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ เมื่อนำมาใช้กับอาหารจึงไม่ทำให้อาหารเกิดเน่าบูด ไม่ทำให้อาหารเกิดสีน้ำตาลเมื่อผ่านความร้อนสูง ๆ และที่สำคัญก็คือ จะไม่ถูกดูดซึมในระบบย่อยอาหาร จึงเหมาะอย่างมากสำหรับผู้ที่เป็นโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต และโรคหัวใจ :::7. สารสตีวิโอไซด์ นอกจากจะใช้ในอาหารและเครื่องดื่มแล้ว ปัจจุบันยังมีการนำไปใช้แทนน้ำตาลในการผลิตยาสีฟันอีกด้วย <br><br> '''คำแนะนำ''' <br> :::1. สตรีมีครรภ์และผู้ที่ให้นมบุตรควรเลี่ยงบริโภคหญ้าหวาน เนื่องจากยังไม่ปรากฏข้อมูลเพียงพอที่จะยืนยันความปลอดภัยในการใช้หญ้าหวานระหว่างตั้งครรภ์และให้นมบุตร :::2. เลี่ยงบริโภคหญ้าหวานในกรณีที่แพ้พืชตระกูลเดียวกับหญ้าหวาน เช่น ดอกเบญจมาศ ดาวเรือง เป็นต้น เนื่องจากผู้ที่แพ้พืชเหล่านี้อาจเสี่ยงมีอาการแพ้หญ้าหวานได้เช่นกัน :::3. ผู้ป่วยเบาหวานที่รับประทานหญ้าหวานควรหมั่นตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด รวมทั้งปรึกษาแพทย์ทันทีหากมีอาการผิดปกติใด ๆ เนื่องจากหญ้าหวานหรือผลิตภัณฑ์ที่มีสารสกัดจากหญ้าหวานอาจทำให้ระดับ'''น้ำตาลในเลือดต่ำเกินไป'''ได้ :::4. ผู้ป่วยภาวะความดันโลหิตต่ำควรปรึกษาแพทย์ก่อนรับประทานหญ้าหวานหรือผลิตภัณฑ์ที่ผสมสารสกัดจากหญ้าหวาน เนื่องจากอาจทำให้ความดันโลหิตลดต่ำจนเกินไป :::5. ผู้บริโภคหญ้าหวานบางรายอาจเกิดอาการท้องอืด คลื่นไส้ วิงเวียนศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ หรือชาตามร่างกายได้ :::6. มีข้อกังวลว่าหญ้าหวานดิบอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงต่อไต ระบบสืบพันธุ์ ระบบหัวใจและหลอดเลือด รวมถึงทำปฏิกิริยากับยาลดระดับน้ำตาลในเลือด และส่งผลให้ความดันโลหิตลดต่ำเกินไป :::7. ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของหญ้าหวานและน้ำตาลแอลกอฮอล์อาจก่อให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับการย่อยอาหารในผู้บริโภคบางรายได้ เช่น ท้องอืด ท้องร่วง เป็นต้น ---- <center>[[ไฟล์:stevia1.png]] [[ไฟล์:stevia2.png]] [[ไฟล์:stevia3.png]] [[ไฟล์:stevia4.png]] </center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ''' <br> https://medthai.com/images/2013/09/ใบหญ้าหวาน.jpg<br> https://medthai.com/images/2013/09/ต้นหญ้าหวาน.jpg<br> https://medthai.com/images/2013/09/สมุนไพรหญ้าหวาน.jpg<br> https://medthai.com/images/2013/09/ดอกหญ้าหวาน.jpg<br> https://puechkaset.com/wp-content/uploads/2017/04/เมล็ดหญ้าหวาน.jpg<br>
กลับไป
หญ้าหวาน
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
พื้นที่ศึกษา
กระเจี๊ยบเขียว
กระเจี๊ยบแดง
กระชาย
กระโดน
กระถิน
กระทกรก
กระเทียม
กล้วยน้ำว้า
กะเพรา
กุยช่าย
ขมิ้นชัน
ข่า
ข้าวกล้อง
ข้าวโพดอ่อน
ขี้เหล็ก
ขึ้นฉ่าย
คำฝอย
แคบ้าน
งา
จักรนารายณ์
เจตมูลเพลิงแดง
ชะพลู
ชะมวง
ชะเอมเทศ
ชา
เดือย
ตะไคร้
ตำลึง
ถั่วพู
ถั่วเหลือง
ทับทิม
ทานตะวัน
เทียนเกล็ดหอย
น้ำเต้า
ใบบัวบก
บอระเพ็ด
บุก
ปลาไหลเผือก
ปัญจขันธ์
ผักกระเฉด
ผักกระโฉม
ผักกูด
ผักขม
ผักชีลาว
ผักเชียงดา
ผักติ้ว
ผักบุ้ง
ผักปลัง
ผักไผ่
ผักหวาน
ผักหวานป่า
ผักเหลียง
ผักฮ้วน
พริก
พริกไทย
พลูคาว
แพงพวยฝรั่ง
ฟักข้าว
ฟักแม้ว
ฟ้าทะลายโจร
มะกรูด
มะกล่ำตาหนู
มะกอก
มะเกี๋ยง
มะขามป้อม
มะเขือเปราะ
มะเดื่อ
มะนาว
มะม่วงหิมพานต์
มะเม่า
มะระ
มะระขี้นก
มะรุม
มะละกอ
มังคุด
แมงลัก
ยอ
ย่านางแดง
รางจืด
ลูกซัด
ลูกสำรอง
ว่านหางจระเข้
ส้มแขก
สมอไทย
สะเดา
สะตอ
เสาวรส
โสน
หญ้าปักกิ่ง
หญ้าหวาน
หม่อน
หอมแดง
หอมใหญ่
โหระพา
อบเชย
อัญชัน
อินทนิลน้ำ
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า