ดูโค้ดสำหรับ งา
←
งา
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[[ไฟล์:sesame-seeds.png|right]] '''วงศ์''' : PEDALIACEAE <br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Sesamum indicum L.'' <br> '''ชื่อสามัญ''' : Black Sesame Seeds, White Sesame Seeds <br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่น ๆ''' : งาขาว, งาดำ<br><br> '''ลักษณะทางพฤกษศาสตร์'''<br> '''ต้น''' : งาดำเป็นพรรณไม้ล้มลุกเนื้ออ่อน มีขนาดเล็ก ลำต้นตั้งตรงถึงยอด ลำต้นเป็นสี่เหลี่ยมสีเขียวเข้มปนม่วง มีร่องตามยาวและมีขนปกคลุม อวบน้ำ สูงประมาณ 0.5 - 2 เมตร <br> '''ใบ''' : ใบมีลักษณะคล้ายกับใบหญ้างวงช้าง มีขนตลอดทั้งใบ เป็นใบเดียวรูปไข่ หรือรูปหอก ขอบใบเป็นจัก ใบมีสีเขียวอ่อนไปจนถึงเขียวเข้ม บางพันธุ์ใบอาจเป็นสีเหลือง ก้านใบยาว 5 เซนติเมตร <br> '''ดอก''' : ดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ กลุ่มละ 1 - 3 ดอก ก้านดอกสั้น กลีบรองดอกมี 5 แฉก กลีบดอกมีสีขาว ขาวอมชมพู หรือม่วงอ่อน <br> '''ผล''' : ผลหรือฝักขนาดค่อนข้างกลม รูปทรงกระบอกหรือแบน มีขนสั้น ๆ ปกคลุมรอบฝัก ปลายฝักมีจงอยแหลม เมล็ดมีรูปไข่ งาดำจะมีเมล็ดเป็นสีดำขนาดใหญ่กว่าเม็ดแมงลักเล็กน้อย ส่วนงาขาวจะมีสีนวล <br> '''การขยายพันธุ์''' : การใช้วิธีโรยเมล็ดเป็นแถว ระยะแถวควรมีความยาวประมาณ 30 - 50 ซม. โรยเมล็ดในร่องแถวที่ลึกประมาณ 5 ซม. ในเนื้อที่ 1 ไร่ จะใช้เมล็ดพันธุ์ประมาณ ½ กก. เมื่อปลูกไปได้ประมาณ 15 - 20 วัน ให้โรยปุ๋ยข้างแถวปลูกแล้วพรวนดินกลบ หากใช้วิธีหว่านด้วยแรงงานคนหรือเครื่องจักร จะใช้เมล็ดพันธุ์ประมาณไร่ละ 1 กก. ก่อนปลูกควรหว่านปุ๋ยลงไปก่อนแล้วค่อยหว่านเมล็ดตาม <br><br> '''สรรพคุณ''' <br> :::1. ใบ ทำให้ผมดกดำ รักษาโรคหูด :::2. เมล็ด บำรุงกำลัง ให้ความอบอุ่นในร่างกาย บำรุงร่างกาย ทำให้ถุงน้ำดีทำงานดีขึ้น บำรุงไขข้อ บำรุงเส้นเอ็น ขับปัสสาวะ รักษาริดสีดวงทวาร เป็นยาระบาย :::3. น้ำมันงา ใส่บาดแผล ถูนวด บำรุงผิว ยาระบายอย่างอ่อน ทาตัวให้ผิวหนังลื่น ทำให้เกิดกำลังเพิ่มความอบอุ่นแก่ร่างกาย :::4. งา เป็นธัญพืชที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย อุดมไปด้วยวิตามินบี 1 บี 2 บี 3 บี 5 บี 6 บี 9 และสารอื่น ๆ ที่ช่วยบำรุงประสาทให้ทำงานปกติงามีแคลเซียมและฟอสฟอรัสมากกว่าพืชผักชนิดอื่นถึง 20 เท่าซึ่งธาตุทั้ง 2 ชนิดนี้เป็นแร่ธาตุที่สำคัญมากๆในการเสริมสร้างกระดูก :::5. งาสามารถยับยั้งมะเรงลำไส้ได้ ลดอัตราการแพร่กระจายของมะเร็ง และส่งเสริมระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย :::6. ลดภาวะการเสี่ยงเกิดโรคมะเร็งลำไส้ ยังช่วยลดอาการตกเลือดทางทวารหนักเนื่องจากแผลในลำไส้ และกระเพาะอาหารช่วยเคลือบสมานแผลภายในลำไส้และกระเพาะอาหาร :::7. ลดอาการเหน็บชา ตามปลายนิ้วมือ นิ้วเท้า ลดภาวะเสี่ยงการเกิดมะเร็งที่ไต <br><br> '''ประโยชน์''' <br> :::1. งาดำมีความสำคัญอย่างมากต่อความสมบูรณ์ของร่างกาย :::2. ช่วยชะลอความแก่ คงความอ่อนเยาว์ :::3. ช่วยบำรุงผิวพรรณให้เปล่งปลั่งสดใส ชุ่มชื้น ช่วยชะลอการเกิดริ้วรอยแห่งวัย :::4. ช่วยซ่อมแซมและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับผิวหนังของคุณ :::5. ช่วยบำรุงรากผมให้แข็งแรง และช่วยให้ผมดกเงางาม :::6. ช่วยป้องกันผมหงอก :::7. ช่วยเพิ่มพลังงานและความแข็งแรงของร่างกาย :::8. ช่วยในการเผาผลาญและสลายไขมัน ลดความอ้วน :::9. ช่วยลดการดูดซึมและการสังเคราะห์คอเลสเตอรอล :::10. ช่วยป้องกันหลอดเลือดแข็งตัว :::11. ช่วยป้องกันการเกิดโรคหัวใจ ทำให้ระบบหัวใจแข็งแรงยิ่งขึ้น :::12. มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระที่มีส่วนช่วยป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง :::13. ช่วยลดความเครียด :::14. ช่วยบำรุงระบบประสาทและสมอง ป้องกันการเสื่อมของเซลล์ในระบบประสาท :::15. งาดำมีธาตุเหล็กซึ่งช่วยบำรุงโลหิต :::16. ช่วยลดความดันโลหิต ขยายหลอดเลือด ป้องกันเกล็ดเลือดที่จะเกาะตัวกันเป็นลิ่ม :::17. ช่วยกระตุ้นให้ร่างกายสร้างเม็ดเลือดขาว ซึ่งมีส่วนช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย :::18. การรับประทานงาดำพร้อมกันถั่วจะทำให้ร่างกายได้รับโปรตีนอย่างครบถ้วน ซึ่งบางตัวเป็นกรดอะมิโนจำเป็นที่ร่างกายไม่สามารถสร้างขึ้นเองได้ :::19. ช่วยให้นอนหลับสบาย ร่างกายกระปรี้กระเปร่า :::20. ช่วยป้องกันการเกิดโรคหวัด :::21. ช่วยป้องกันการเกิดโรคเหน็บชา และตะคริว :::22. ช่วยบำรุงกระดูกและป้องกันการเกิดโรคกระดูกพรุน :::23. ช่วยป้องกันโรคท้องผูก :::24. ช่วยบรรเทาอาการของโรคริดสีดวงทวาร :::25. ช่วยต้านการอักเสบจากโรคข้อเสื่อม ยับยั้งการเสื่อมสลาย :::26. น้ำมันงาสามารถนำมาใช้เป็นยานวดร่วมกับสมุนไพรอื่น ๆ เพื่อช่วยรักษาเส้นเอ็นอักเสบ :::27. น้ำมันงาช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อาการปวดเข่า เคล็ดขัดยอก :::28. ผู้รับประทานมังสวิรัตินิยมใส่งาลงในอาหารถั่วเหลืองที่ปรุง เพื่อให้อาหารมีโปรตีนสมบูรณ์มากขึ้น :::29. ประโยชน์งาดำในการนำมาแปรรูปเป็นงาดำแคปซูล <br><br> '''คำแนะนำ''' <br> :::1. ผู้รับประทานบางรายอาจมีอาการแพ้ได้ เช่น ลมพิษ ริมฝีเปลือกตาปากบวมแดง คันจมูก หายใจลำบาก ความดันโลหิตลดลงจนช็อกหมดสติ โดยอาการเหล่านี้อาจ เกิดขั้นทันทีหลังจากรับประทานจนถึง 90 นาที :::2. สำหรับการเลือกซื้อเมล็ดงาดำควรเลือกซื้องาดำที่สะอาด ไม่มีสิ่งสกปรกเจือปน ไม่ควรซื้อที่ที่แบ่งขายตามร้านขายของชำ เพราะอาจจะเสี่ยงกับมูลแมลงสาบและแมลงอื่น ๆ และไม่ควรซื้อแบบที่บดสำเร็จมาแล้วเนื่องจากอาจมีเชื้อราติดมาด้วย เมื่อซื้อมาใช้แล้วควรเก็บใส่ขวดปิดฝาให้มิดชิด เพราะถ้าหากทิ้งไว้นานโดยไม่ปิดฝาให้มิดชิดจะทำให้มีกลิ่นเหม็นหืนได้ ---- <center>[[ไฟล์:sesame-seeds1.png]] [[ไฟล์:sesame-seeds2.png]] [[ไฟล์:sesame-seeds3.png]] [[ไฟล์:sesame-seeds4.png]] </center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ''' <br> https://img.kaidee.com/prd/20170919/136517833/b/4836d40f-20c0-4fbb-bf01-1b988a266c8a.jpg<br> https://www.thaiarcheep.com/wp-content/uploads/2016/05/2งาดำจัดเป็นพืช.jpg<br> https://farmerspace.co/wp-content/uploads/2018/04/งาดำ3.jpg<br> https://cdn.pixabay.com/photo/2015/09/19/16/47/sesame-947464_960_720.jpg<br> https://mpics.mgronline.com/pics/Images/559000011296402.JPEG<br>
กลับไป
งา
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
พื้นที่ศึกษา
กระเจี๊ยบเขียว
กระเจี๊ยบแดง
กระชาย
กระโดน
กระถิน
กระทกรก
กระเทียม
กล้วยน้ำว้า
กะเพรา
กุยช่าย
ขมิ้นชัน
ข่า
ข้าวกล้อง
ข้าวโพดอ่อน
ขี้เหล็ก
ขึ้นฉ่าย
คำฝอย
แคบ้าน
งา
จักรนารายณ์
เจตมูลเพลิงแดง
ชะพลู
ชะมวง
ชะเอมเทศ
ชา
เดือย
ตะไคร้
ตำลึง
ถั่วพู
ถั่วเหลือง
ทับทิม
ทานตะวัน
เทียนเกล็ดหอย
น้ำเต้า
ใบบัวบก
บอระเพ็ด
บุก
ปลาไหลเผือก
ปัญจขันธ์
ผักกระเฉด
ผักกระโฉม
ผักกูด
ผักขม
ผักชีลาว
ผักเชียงดา
ผักติ้ว
ผักบุ้ง
ผักปลัง
ผักไผ่
ผักหวาน
ผักหวานป่า
ผักเหลียง
ผักฮ้วน
พริก
พริกไทย
พลูคาว
แพงพวยฝรั่ง
ฟักข้าว
ฟักแม้ว
ฟ้าทะลายโจร
มะกรูด
มะกล่ำตาหนู
มะกอก
มะเกี๋ยง
มะขามป้อม
มะเขือเปราะ
มะเดื่อ
มะนาว
มะม่วงหิมพานต์
มะเม่า
มะระ
มะระขี้นก
มะรุม
มะละกอ
มังคุด
แมงลัก
ยอ
ย่านางแดง
รางจืด
ลูกซัด
ลูกสำรอง
ว่านหางจระเข้
ส้มแขก
สมอไทย
สะเดา
สะตอ
เสาวรส
โสน
หญ้าปักกิ่ง
หญ้าหวาน
หม่อน
หอมแดง
หอมใหญ่
โหระพา
อบเชย
อัญชัน
อินทนิลน้ำ
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า