ดูโค้ดสำหรับ ผักขม
←
ผักขม
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[[ไฟล์:amaranth.png|right]] '''วงศ์''' : AMARANTHACEAE <br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Amaranthus blitum subsp. oleraceus (L.) Costea'' <br> '''ชื่อสามัญ''' : Amaranth <br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่น ๆ''' : ผักโหม, ผักหม, ผักโหมเกลี้ยง, กระเหม่อลอเตอ <br><br> '''ลักษณะทางพฤกษศาสตร์'''<br> '''ต้น''' : เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็ก มีอายุปีเดียว เป็นพืชที่ขึ้นเอง ลำต้นเดี่ยวมีทรงพุ่ม แตกกิ่งก้านสาขา มีลักษณะกลมๆ โคนมีสีแดงอมน้ำตาล มีก้านใบยาว ออกเรียงสลับโดยรอบๆ มีสีเขียว ลำต้นมีหนามหรือไม่มีหนาม ตามสายพันธุ์ <br> '''ใบ''' : เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ มีลักษณะคล้ายสามเหลี่ยม ทรงรียาว โคนใบกว้างใหญ่ ปลายใบเรียวรี ผิวใบบางเรียบหรือมีขน มีก้านใบยาว ใบมีสีเขียวหรือสีแดง ตามสายพันธุ์ มีกลิ่นเหม็นเขียว <br> '''ดอก''' : ออกเป็นช่อ ก้านช่อดอกยาว ออกตามซอกใบและที่ปลายยอด มีแขนงก้านย่อยมาก มีดอกย่อย ดอกมีลักษณะเล็กๆ ดอกมีสีม่วงปนเขียว สีเขียว สีน้ำเงินอมม่วง ตามสายพันธุ์ <br> '''ผล''' : มีลักษณะทรงกลม ผลดิบมีสีเขียว ผลแก่มีสีน้ำตาล ข้างในมีเมล็ดลักษณะทรงกลม มีขนาดเล็กๆ มีสีน้ำตาลเข้มหรือสีดำ <br> '''การขยายพันธุ์''' : ผักโขมเป็นพืชที่สามารถ เจริญเติบโตได้ในดินทุกชนิด ชอบดินร่วนซุย ดินร่วนปนทรายจะเจริญเติบโตได้ดี มีวิธีการปลูกโดยใช้เมล็ดพันธุ์ แบบหว่านแมล็ดโดยตรง หรือแบบโรยเมล็ดเป็นแถว ลงในแปลงปลูกที่เตรียมไว้ ให้มีระยะห่างระหว่างต้นพอประมาณ <br> <br> '''สรรพคุณ''' <br> :::1. ช่วยบำรุงกำลังทำให้มีสุขภาพแข็งแรง :::2. ผักโขมมีสารต่อต้านอนุมูลอิสระหลายชนิด จึงมีส่วนช่วยในการชะลอวัยและความเสื่อมของเซลล์ต่าง ๆ ในร่างกาย :::3. ช่วยส่งเสริมการสร้างคอลลาเจน เพิ่มความยืดหยุ่นให้กับผิวหนัง จึงช่วยชะลอการเกิดริ้วรอยได้ :::4. ช่วยบำรุงและรักษาสุขภาพสายตา ป้องกันความเสื่อมของดวงตา :::5. มีส่วนช่วยบำรุงกระดูกและฟันให้แข็งแรง ลดความเสี่ยงของการเกิดโรคกระดูกพรุน :::6. ช่วยชะลอความเสื่อมของสมอง ชะลอปัญหาความจำเสื่อม :::7. ช่วยบำรุงโลหิตในร่างกาย :::8. ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ :::9. ช่วยรักษาจังหวะการเต้นของหัวใจให้คงที่ :::10. ช่วยให้เจริญอาหาร แก้อาการเบื่ออาหาร :::11. เป็นอาหารที่เหมาะอย่างมากกับผู้รับประทานอาหารมังสวิรัติ เพราะผักโขมอุดมไปด้วยโปรตีน :::12. มีส่วนช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลในเลือดได้ :::13. แมกนีเซียมในผักโขมช่วยควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในระดับปกติ :::14. ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคอัลไซเมอร์ในผู้สูงอายุ :::15. ช่วยชะลอความเสื่อมของสายตา ลดความเสี่ยงจากการเกิดโรคดวงตาเสื่อมได้สูงถึง 43% :::16. ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งมะเร็งเต้านม มะเร็งปอด และมะเร็งรังไข่ :::17. ช่วยกำจัดสารพิษออกจากร่างกาย :::18. ช่วยป้องกันโรคเลือดออกตามไรฟัน :::19. ใช้ถอนพิษไข้ ด้วยการนำรากมาปรุงเป็นยา (ราก) :::20. ช่วยดับพิษภายในและภายนอก (ทั้งต้น) :::21. วิตามินเคในผักโขมช่วยป้องกันภาวะเลือดไหลไม่หยุดได้ :::22. ช่วยแก้อาการตกเลือด :::23. ช่วยแก้อาการแน่นหน้าอกและไอหอบ (ต้น) :::24. ใช้แก้อาการบิด มูกเลือด (ทั้งต้น) :::25. ช่วยแก้อาการแน่นท้อง :::26. ช่วยให้ระบบขับถ่ายทำงานได้สะดวก เพราะมีเส้นใยสูง :::27. ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งในกระเพาะอาหาร :::28. ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ (ราก) :::29. ใช้รักษาโรคริดสีดวงทวารและจมูก (ทั้งต้น) :::30. ช่วยแก้อาการปวดท้องประจำเดือน เพราะช่วยลดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อบริเวณช่องท้อง :::31. ใช้แก้ผดผื่นคัน (ทั้งต้น) :::32. ช่วยรักษาฝี กลาก เกลื้อน (ทั้งต้น) :::33. ใช้รักษาแผลพุพอง (ทั้งต้น, ใบสด) :::34. ช่วยแก้อาการช้ำใน :::35. ใช้แก้รำมะนาด (ทั้งต้น) :::36. การรับประทานผักโขมจะช่วยทำให้คุณรู้สึกอิ่มเร็วขึ้นและอยู่ท้องนาน จึงเหมาะอย่างมากสำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำหนักหรือลดความอ้วน :::37. แก้อาการเด็กลิ้นเป็นฝ้าละอองและเบื่ออาหาร :::38. ซุปผักโขมเป็นเมนูอาหารที่เหมาะสำหรับหญิงตั้งครรภ์อย่างมาก เพราะมีประโยชน์หลากหลายและยังช่วยบำรุงร่างกายคุณแม่และเด็กให้มีสุขภาพแข็งแรง :::39. ผักโขมเป็นผักที่ช่วยบำรุงน้ำนมสำหรับคุณแม่ลูกอ่อนได้เป็นอย่างดี <br><br> '''ประโยชน์''' <br> :::1. สำหรับชาวกรีกสมัยโบราณ ผักโขมถือว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์และเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นอมตะ และมีการใช้ภาพของใบผักโขมในการประดับที่อยู่ของหลุมศพต่าง ๆ :::2. ประโยชน์ผักโขม ใบอ่อน ยอดอ่อน ต้นอ่อน นำมาลวกหรือต้มให้สุก รับประทานเป็นผักจิ้มกินกับน้ำพริกต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น น้ำพริกปลาร้า กะปิ ปลาต่อม หรือจะนำมานึ่งพร้อมกับปลา นำไปทำแกงเลียง ทำเป็นผัดผัก ผักโขมอบชีส พายผักโขมอบชีส ผักโขมราดซอสงาขาว ปอเปี๊ยะไส้ผักโขมชีส ซุปครีมผักโขม ซุปผักโขม เป็นต้น <br><br> '''คำแนะนำ''' <br> :::1. หญิงที่กำลังตั้งครรภ์หรือให้นมบุตรควรต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ เพราะไม่มีข้อมูลที่รับรองได้ว่าจะไม่เป็นอันตรายหากใช้ผักโขมในฐานะยารักษาโรคขณะตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร เพื่อความปลอดภัยควรหลีกเลี่ยงการใช้เป็นดีที่สุด แต่หากต้องการลองใช้จริง ๆ ควรต้องปรึกษาแพทย์ก่อนใช้เสมอ ---- <center>[[ไฟล์:amaranth1.png]] [[ไฟล์:amaranth2.png]] [[ไฟล์:amaranth3.png]] [[ไฟล์:amaranth4.png]] </center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ''' <br> https://medthai.com/images/2013/07/Amaranth-1.jpg<br> https://www.technologychaoban.com/wp-content/uploads/2017/06/4-19.jpg<br> https://www.technologychaoban.com/wp-content/uploads/2019/09/2-30.jpg<br> https://medthai.com/images/2013/11/ต้นผักขมหัด.jpg<br> https://sites.google.com/a/kkn.ac.th/phuch-xnuraks/_/rsrc/1480647879822/tea-rang/phak-khom/ผักโขม.jpg<br>
กลับไป
ผักขม
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
พื้นที่ศึกษา
กระเจี๊ยบเขียว
กระเจี๊ยบแดง
กระชาย
กระโดน
กระถิน
กระทกรก
กระเทียม
กล้วยน้ำว้า
กะเพรา
กุยช่าย
ขมิ้นชัน
ข่า
ข้าวกล้อง
ข้าวโพดอ่อน
ขี้เหล็ก
ขึ้นฉ่าย
คำฝอย
แคบ้าน
งา
จักรนารายณ์
เจตมูลเพลิงแดง
ชะพลู
ชะมวง
ชะเอมเทศ
ชา
เดือย
ตะไคร้
ตำลึง
ถั่วพู
ถั่วเหลือง
ทับทิม
ทานตะวัน
เทียนเกล็ดหอย
น้ำเต้า
ใบบัวบก
บอระเพ็ด
บุก
ปลาไหลเผือก
ปัญจขันธ์
ผักกระเฉด
ผักกระโฉม
ผักกูด
ผักขม
ผักชีลาว
ผักเชียงดา
ผักติ้ว
ผักบุ้ง
ผักปลัง
ผักไผ่
ผักหวาน
ผักหวานป่า
ผักเหลียง
ผักฮ้วน
พริก
พริกไทย
พลูคาว
แพงพวยฝรั่ง
ฟักข้าว
ฟักแม้ว
ฟ้าทะลายโจร
มะกรูด
มะกล่ำตาหนู
มะกอก
มะเกี๋ยง
มะขามป้อม
มะเขือเปราะ
มะเดื่อ
มะนาว
มะม่วงหิมพานต์
มะเม่า
มะระ
มะระขี้นก
มะรุม
มะละกอ
มังคุด
แมงลัก
ยอ
ย่านางแดง
รางจืด
ลูกซัด
ลูกสำรอง
ว่านหางจระเข้
ส้มแขก
สมอไทย
สะเดา
สะตอ
เสาวรส
โสน
หญ้าปักกิ่ง
หญ้าหวาน
หม่อน
หอมแดง
หอมใหญ่
โหระพา
อบเชย
อัญชัน
อินทนิลน้ำ
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า