ดูโค้ดสำหรับ กล้วยน้ำว้า
←
กล้วยน้ำว้า
ข้ามไป:
การนำทาง
,
ค้นหา
คุณไม่มีสิทธิแก้ไขหน้านี้ ด้วยเหตุต่อไปนี้:
ปฏิบัติการที่คุณขอนี้สงวนไว้เฉพาะผู้ใช้ในกลุ่ม:
ผู้ใช้
หน้านี้ถูกล็อกเพื่อป้องกันการแก้ไขหรือปฏิบัติการอื่น
คุณสามารถดูและคัดลอกโค้ดของหน้านี้:
[[ไฟล์:cultivated.png|right]] '''วงศ์''' : MUSACEAE <br> '''ชื่อวิทยาศาสตร์''' : ''Musa sapientum L.'' <br> '''ชื่อสามัญ''' : Cultivated banana <br> '''ชื่อพื้นเมืองหรือชื่ออื่น ๆ''' : กล้วยน้ำว้าเหลือง, กล้วยใต้, กล้วยอ่อง, กล้วยมะลิอ่อ, กล้วยอ่อง, กล้วยตานีอ่อง<br><br> '''ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ '''<br> '''ต้น''' : เป็นพืชล้มลุก ลำต้นใต้ดินอวบน้ำ สูงประมาณ 2 - 5 เมตร <br> '''ใบ''' : ใบ เป็นใบเดี่ยว การเกาะติดของใบบนลำต้นแบบเวียนถี่ชิดอัดแน่นที่ลำต้น ใบรูปขอบขนาน ขนาดใหญ่ประมาณ 40 x 200 เซนติเมตร ปลายและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบ ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้มด้านใต้สีอ่อนกว่าและมีสิ่งเกาะติดคล้ายผงแป้งสีขาว ก้านใบ แบ่งเป็นสองส่วน ส่วนแรกเกาะติดกับลำต้นมีลักษณะแบนโค้งอวบน้ำสีเขียวบนน้ำตาลแดง (ส่วนนี้เห็นคล้ายลำต้น) ส่วนที่สองทรงกลมส่วนกลางเป็นร่องโค้งลึกตามทรงก้านสีเขียวอ่อนยาวเรียวไปจนสุดปลายแผ่นใบ <br> '''ดอก''' : ดอก ออกเป็นช่อ ที่ปลายยอดปลายช่อโค้งห้อยลง มีกาบประดับขนาดใหญ่ที่โคนกลุ่มดอกย่อยทุกๆ กลุ่ม กาบมีเนื้อหนาสีแดงเข้ม เมื่อรังไข่เจริญเป็นผลกาบประดับจะหลุดร่วงไป <br> '''ผล''' : ผล เป็นผลสด รูปทรงกระบอก ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 5 เซนติเมตร ยาว 10 เซนติเมตร เมล็ด ทรงกลมสีดำผิวเป็นคลื่น ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.50 เซนติเมตร <br> '''การขยายพันธุ์''' : การใช้เมล็ด, การใช้หน่อ, การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ <br><br> '''สรรพคุณ''' <br> :::1. ช่วยลดกลิ่นปากได้ดีในระดับหนึ่ง แต่ทั้งนี้ควรรับประทานหลังตื่นนอนตอนเช้าทันทีแล้วค่อยแปรงฟัน และถ้าเป็นกล้วยน้ำว้าจะยิ่งช่วยลดกลิ่นปากได้ดีขึ้น :::2. กล้วยช่วยควบคุมอุณหภูมิในร่างกายให้เป็นปกติ :::3. กล้วยอุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุต่าง ๆ ที่สำคัญและจำเป็นต่อร่างกาย เช่น ธาตุเหล็ก ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม คาร์โบไฮเดรต โปรตีน วิตามินเอ วิตามินบี 6 วิตามินบี 12 และวิตามินซี :::4. ช่วยเพิ่มพลังให้แก่สมองของคุณ เพราะมีสารที่ช่วยทำให้มีเกิดสมาธิและมีการตื่นตัวตลอดเวลา :::5. กล้วยก็มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระเหมือนกันนะ ที่ช่วยในการชะลอความแก่ตัวของร่างกายนั่นเอง :::6. กล้วยมีส่วนช่วยในการลดความอ้วนได้ เพราะช่วยปรับระดับน้ำตาลในเลือด ช่วยให้ลดอาการอยากกินของจุกจิกลงได้พอสมควร :::7. สำหรับผู้ที่มีอาการนอนไม่หลับ กล้วยคือคำตอบสำหรับคุณ :::8. อาการหงุดหงิดยามเช้า กล้วยก็ช่วยคุณได้เหมือนกัน :::9. ช่วยลดอาการหงุดหงิดของผู้หญิงในช่วงประจำเดือนมา :::10. ช่วยลดอาการเมาค้างได้ดีระดับหนึ่ง เพราะจะช่วยชดเชยน้ำตาลที่ร่างกายขาดไปในขณะดื่มแอลกอฮอล์ :::11. เป็นตัวช่วยสำหรับผู้ที่ต้องการเลิกสูบบุหรี่ เพราะในกล้วยมีวิตามินเอ ซี บี 6 บี 12 โพรแทสเซียม และแมกนีเซียมที่ช่วยให้ร่างกายฟื้นตัวได้เร็วขึ้นจากการเลิกนิโคติน :::12. ช่วยรักษาอาการท้องผูก เพราะกล้วยมีเส้นใยและกากอาหารซึ่งจะช่วยให้ขับถ่ายได้อย่างปกติ :::13. ช่วยบรรเทาอาการของริดสีดวงทวารหรือในขณะขับถ่ายจะมีเลือดออกมา :::14. ช่วยลดอาการเสียดท้อง ลดกรดในกระเพาะ การกินกล้วยจะทำให้คุณรู้สึกผ่อนคลายจากอาการนี้ได้ :::15. ช่วยรักษาโรคโลหิตจางได้ เพราะในกล้วยมีธาตุเหล็กสูง ซึ่งจะช่วยในการผลิตฮีโมโกลบินในเลือด เพื่อรักษาภาวะโลหิตจางหรือผู้ที่อยู่ในสภาวะขาดกำลัง :::16. ช่วยรักษาโรคความดันโลหิตสูงหรือเส้นเลือดฝอยแตกได้ :::17. ช่วยลดโอกาสเสี่ยงของการเกิดเส้นโลหิตแตกได้ :::18. สำหรับผู้ที่เป็นโรคกระเพาะหรือกระเพาะอักเสบ การรับประทานกล้วยบ่อย ๆ ถือเป็นสิ่งที่ดีมาก เพราะกล้วยมีสภาพเป็นกลาง มีความนิ่มและเส้นใยสูง :::19. ช่วยรักษาแผลในลำไส้เรื้อรัง เพราะกล้วยมีสภาพเป็นกลาง ทำให้ไม่เกิดการระคายเคืองในผนังลำไส้และกระเพาะอาหารด้วย :::20. ช่วยรักษาโรคซึมเศร้า ภาวะความเครียด เพราะกล้วยมีโปรตีนชนิดหนึ่งที่เรียกว่า Tryptophan ซึ่งช่วยในการผลิตสาร Serotonin หรือฮอร์โมนแห่งความสุข จึงมีส่วนช่วยในการผ่อนคลายอารมณ์ได้ดียิ่งขึ้น :::21. ช่วยลดอัตราการเกิดตะคริวบริเวณมือ เท้า และน่องได้ :::22. ช่วยบรรเทาอาการแพ้ท้องของมารดาลงได้ :::23. กล้วยมีสรรพคุณช่วยบรรเทาอาการนิ่วในไตได้ในระดับหนึ่ง <br><br> '''ประโยชน์''' <br> :::1. กล้วยก็สามารถนำมาทำเป็นมาส์กหน้าได้เหมือนกันนะ โดยจะช่วยเพิ่มความชุ่มชื่นให้แก่ผิว ช่วยลดความหยาบกร้านของผิว วิธีง่าย ๆ เพียงแค่ใช้กล้วยสุกหนึ่งผลมาบดให้ละเอียด แล้วเติมน้ำผึ้ง 2 ช้อนโต๊ะ จากนั้นคลุกให้เข้ากัน แล้วนำมาพอกหน้าทิ้งไว้ประมาณ 15 นาทีแล้วล้างออก :::2. เปลือกกล้วยสามารถแก้ผื่นคันที่เกิดจากยุงกัดได้ ด้วยการลองใช้ด้านในของเปลือกกล้วยทาบริเวณที่ถูกยุงกัด อาการคันจะลดลงไปได้ระดับหนึ่ง :::3. เปลือกด้านในของกล้วยช่วยในการรักษาโรคหูดบนผิวหนังได้ โดยใช้เปลือกกล้วยวางบนลงบริเวณหูดแล้วใช้เทปกาวแปะไว้ :::4. เปลือกกล้วยด้านในช่วยฆ่าเชื้อที่เกิดจากบาดแผลได้เหมือนกัน แต่อย่างไรก็ตามเมื่อแปะที่บาดแผลแล้วก็ควรจะเปลี่ยนเปลือกใหม่ทุก ๆ 2 ชั่วโมงด้วย :::5. ยางกล้วยสามารถนำมาใช้ในการห้ามเลือดได้ :::6. ก้านใบตอง ช่วยลดอาการบวมของฝี แต่ก่อนใช้ต้องตำให้แหลกเสียก่อน :::7. ใบอ่อนของกล้วย หากนำไปอังไฟให้นิ่ม ก็ใช้ประคบแก้อาหารเคล็ดขัดยอกได้ :::8. หัวปลีนำมารับประทานเพื่อช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด รวมทั้งบำรุงและขับน้ำนมสำหรับมารดาหลังคลอดบุตร :::9. ผลดิบนำมาบดให้ละเอียดทั้งลูกผสมกับน้ำสะอาด รับประทานเพื่อแก้อาการท้องเสีย :::10. ใบตอง อีกส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์กันอย่างมาก เช่น ทำกระทง ห่อขนม ห่ออาหาร ทำบายศรี บวงสรวงต่าง ๆ <br><br> '''คำแนะนำ''' <br> :::1. การรับประทานกล้วยน้ำว้าในปริมาณมาก โดยเฉพาะกล้วยที่ยังอยู่ในช่วงห่าม อาจทำให้เกิดการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นท้อง เพราะมีแทนนินมาก :::2. กล้วยน้ำว้าสุก มีฤทธิ์ช่วยในการระบาย และเพิ่มประสิทธิภาพของระบบขับถ่าย หากรับประทานติดต่อกันในปริมาณมาก อาจส่งผลให้เกิดการท้องเสีย ---- <center>[[ไฟล์:cultivated1.png]] [[ไฟล์:cultivated2.png]] [[ไฟล์:cultivated3.png]] [[ไฟล์:cultivated4.png]] </center> ---- '''แหล่งที่มาของภาพ''' <br> https://farmerspace.co/wp-content/uploads/2018/08/Banana-08.jpg<br> https://kasetlover.com/wp-content/uploads/2019/07/01-1.jpg<br> http://www.biogang.net/upload_img/biodiversity/biodiversity-208923-1.jpg<br> https://i.pinimg.com/originals/46/e6/11/46e611336347749aca18e6c3f6520203.jpg<br> https://spcdn.springnews.co.th/wp-content/uploads/2018/05/bananas-1212949_960_720.jpg<br>
กลับไป
กล้วยน้ำว้า
รายการเลือกการนำทาง
เครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชี
ล็อกอิน
เนมสเปซ
หน้า
อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
อ่าน
ดูโค้ด
ดูประวัติ
เพิ่มเติม
ค้นหา
การนำทาง
หน้าหลัก
พื้นที่ศึกษา
กระเจี๊ยบเขียว
กระเจี๊ยบแดง
กระชาย
กระโดน
กระถิน
กระทกรก
กระเทียม
กล้วยน้ำว้า
กะเพรา
กุยช่าย
ขมิ้นชัน
ข่า
ข้าวกล้อง
ข้าวโพดอ่อน
ขี้เหล็ก
ขึ้นฉ่าย
คำฝอย
แคบ้าน
งา
จักรนารายณ์
เจตมูลเพลิงแดง
ชะพลู
ชะมวง
ชะเอมเทศ
ชา
เดือย
ตะไคร้
ตำลึง
ถั่วพู
ถั่วเหลือง
ทับทิม
ทานตะวัน
เทียนเกล็ดหอย
น้ำเต้า
ใบบัวบก
บอระเพ็ด
บุก
ปลาไหลเผือก
ปัญจขันธ์
ผักกระเฉด
ผักกระโฉม
ผักกูด
ผักขม
ผักชีลาว
ผักเชียงดา
ผักติ้ว
ผักบุ้ง
ผักปลัง
ผักไผ่
ผักหวาน
ผักหวานป่า
ผักเหลียง
ผักฮ้วน
พริก
พริกไทย
พลูคาว
แพงพวยฝรั่ง
ฟักข้าว
ฟักแม้ว
ฟ้าทะลายโจร
มะกรูด
มะกล่ำตาหนู
มะกอก
มะเกี๋ยง
มะขามป้อม
มะเขือเปราะ
มะเดื่อ
มะนาว
มะม่วงหิมพานต์
มะเม่า
มะระ
มะระขี้นก
มะรุม
มะละกอ
มังคุด
แมงลัก
ยอ
ย่านางแดง
รางจืด
ลูกซัด
ลูกสำรอง
ว่านหางจระเข้
ส้มแขก
สมอไทย
สะเดา
สะตอ
เสาวรส
โสน
หญ้าปักกิ่ง
หญ้าหวาน
หม่อน
หอมแดง
หอมใหญ่
โหระพา
อบเชย
อัญชัน
อินทนิลน้ำ
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
หน้าพิเศษ
สารสนเทศหน้า